Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะหัวใจห้องบนสั่นพลิ้ว (atrial fibrillation หรือ AF หรือ A-Fib), นศพต…
ภาวะหัวใจห้องบนสั่นพลิ้ว
(atrial fibrillation หรือ AF หรือ A-Fib)
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดสั่นพลิ้ว (atrial fibrillation)
เป็นความผิด ในหัวใจห้องบนหลายตําแหน่งที่ช่วยกันเป็นจุดกําเนิดไฟฟ้าแทน SA node ซึ่งกระตุ้นหัวใจห้องบนให้เต้นด้วยยอัตราที่เร็วมาก ไม่สม่ำเสมอ ทําให้ผนังหัวใจห้องบน เคลื่อนไหวแบบสั่นพลิ้ว ส่งผลทําให้คลื่นไฟฟ้า หัวใจที่เกิดขึ้นไม่สามารถผ่านไปยังหัวใจห้องล่าง ได้หมดทําให้หัวใจห้องล่างตอบสนองต่อหัวใจ ห้องบนได้ไม่สม่ำเสมอ ทำให้มีอัตราการเต้นของหัวใจไม่คงที่ซึ่งอาจนำไปสู่ความอันตรายถึงชีวิต
กลไกการเกิดโรค
มีการสั่นพลิ้วของหัวใจห้องบนในอัตรามากกว่า 300 ครั้ง/นาที เกิดจากการที่มีจุดกำเนิดไฟฟ้าในหัวใจห้องบนหลายจุด ทำให้การบีบตัวของหัวใจห้องบนเสียไป แบ่งกลไกการเกิดได้ 3 รูปแบบ ดังนี้
2. มีวงจรไฟฟ้าหมุนวนหลายตําแหน่ง (multiple reentrant circuits)
จาก
นำไปสู่การนำไฟฟ้าที่ผิดปกติ แต่ไม่สามารถ depolarize หัวใจห้องบนได้ทั้งหมด
จึงไม่เกิดการบีบตัวของหัวใจห้องบน (loss of atrial kick) แต่จะเป็นการสั่นพลิ้วของหัวใจห้องบน
3.ผู้ป่วยแต่ละรายอาจมีกลไกการเกิดทั้งสองแบบร่วมกัน
1. มีจุดกําเนิดไฟฟ้าผิดปกติ (focal activation)
ความดันในห้องหัวใจที่เพิ่มขึ้น
thyroid hormone, catecholamine
ตําแหน่งของจุดกําเนิดไฟฟ้าที่ผิด ปกติมักอยู่ที่ pulmonary veins
ลักษณะคลื่นไฟฟ้าหัวใจของ Atrial Fibrilation
: เป็นภาวะที่จุดกำเนิดไฟฟ้าในหัวใจที่ไม่ได้เกิดจาก SA node แต่เกิดจากจุดกำเนิดในหัวใจห้องบนมากกว่า 1 จุด ทำให้เกิดภาวะหัวใจ เต้นผิดจังหวะเกิดลักษณะคลื่นไฟ้าหัวใจของภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดสั่นพริ้ว จากการตรวจ EKG 12 leads พบว่า
P wave หายไปมี Fibrillation (F) wave ลักษณะหยักไปมา ไม่สม่ำเสมอเห็นชัดใน Lead II, III ,aVF และ V2 แต่รูปร่างของ QRS complex ปกติ
ความถี่ของ P wave (Atrial rate) อยู่ในช่วง 350-600 ครั้ง/นาที
3.ส่วนใหญ่ RR interal ไม่สม่ำเสมอ
จำแนกประเภทของโรคได้ 6 กลุ่ม
First diagnosed AF หมายถึง AF ที่ได้รับการวินิจฉัยเป็นครั้งแรก
Paroxysmal AF หมายถึง AF ที่เกิดเป็นครั้งคราวและกลับเป็นปกติได้เองภายใน 24ชั่วโมง แต่อาจเป็นนานได้ถึง 7 วัน โดยไม่ต้องได้รับการรักษา
Persistent AF หมายถึง AF ที่เกิดต่อเนื่องนานเกิน 7 วัน และไม่สามารถกลับเป็นปกติได้เอง ต้องได้รับการรักษาด้วยยาหรือการช็อคไฟฟ้า (cardioversion)
Recurrent AF หมายถึง AF ที่เกิดซ้ำมากกว่า 7 ครั้ง อาการอาจดีขึ้นเองหรือดีขึ้นด้วยการรักษา
Permanent AF หมายถึง AF ที่เกิดขึ้นติดต่อกันมานานกว่า 1 ปี ไม่สามารถรักษาให้หัวใจกลับมาเต้นเป็นปกติเหมือนเดิมได้
Lone AF หมายถึง AF ที่เกิดในผู้ป่วยที่ไม่มีภาวะผิดปกติทางหัวใจ รวมถึงโรคความดันโลหิตสูง เช่น ความเครียด ความเหนื่อยล้าของร่างกาย ความไม่สมดุลของเกลือแร่ การดื่มสุรา
ผล lab +ตรวจพิเศษ
วันที่ 13-01-66
-PT : 12.6 sec.
-INR : 1.07
-APTT : 23.8 sec ค่าปกติ 24.6-31.8 sec
-Hb :16.3 g/dl (H) ค่าปกติ 12.8-16.1
-Hct : 49.1 % (H) ค่าปกติ 38.2-48.3
White blood cell count 10,570 cell/ml.
ค่าปกติ 5000-10,000 cell/ml.
neutrophil 72.8% (H) ค่าปกติ 48.2-10.77
Lymphocyte 17.8% (L) ค่าปกติ 21.1-42.7
วันที่ 15-01-66
-PT : 13.4 sec.(H) ค่าปกติ 10.4-13.2
-INR : 1.14
-APTT : 26.4 sec ค่าปกติ 24.6-31.8 sec
ค่า electrolyte : ปกติ(15-01-66)
การตรวจ EKG
วันที่ 10 ม.ค.66 : lead 2 เต้นผิดปกติ วันที่ 12 ม.ค.66 : lead 2 เต้นผิดปกติ
วันที่ 13 ม.ค.66 : lead 2 เต้นผิดปกติ
วันที่ 14 ม.ค.66 : lead 2 เต้นผิดปกติ
ผู้ป่วย (เตียง 17)
อาการและอาการแสดง
หายใจเร็ว และตื้น เหนื่อยง่าย
นอนราบไม่ได้
หายใจไม่สะดวกนอนราบไม่ได้ วัด O2 sat เองที่บ้านได้ 86% ไม่มีใจสั่น
intake/output
วันที่ 15 ม.ค.66 : 700/2200
วันที่ 16 ม.ค.66 : 950/3000
ข้อมูลพื้นฐาน
ชื่อ
นายชัยพล อัครมงคล
อายุ
65 ปี
HN
531465455
AN
660000532
เพศ
ชาย
สภาพสมรส
เชื้อชาติ
ไทย
สัญชาติ
ไทย
ศาสนา
พุทธ
การศึกษา
ปริญญาตรี
อาชีพ
ไม่ได้ทำงาน
รายได้
50,000 บาท
T = 35.9 องศาเซสเซียส , Pulse 68 ครั้ง/นาที , RR 18 ครั้ง/นาที, BP = 121/91 mm.Hg. , O2 sat 95%
การตรวจร่างกาย
ระบบผิวหนัง
poor skin turgor, moisture, no pitting edema
ระบบหู ตา คอ จมูก
หู : ใบหูสองข้างสมมาตรกัน ไม่มีสารคัดหลั่ง ไม่พบก้อนบริเวณหู
ตา : ลืมตา ไม่มี conjunctiva
คอ : ปกติ อยู่ใน midline
จมูก : รูปร่างสมมาตร ไม่มีการอักเสบ
ระบบหายใจ
ทรวงอกสมมาตร , On oxygen Cannula 2 LPM keep oxygen sat 94% อัตราการหายใจ 18 ครั้ง/นาที
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
การเต้นของหัวใจและชีพจรเต้นสม่ำเสมอ
ระบบย่อยอาหาร
รับประทานอาหารปกติ :ลดเค็ม
ระบบประสาท
15/01/66 : E4M6V5
ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก
โครงสร้างร่างกายสมมาตรปกติ แขนและขาไม่มีกระดูกผิดรูปหรือหัก ระบบกล้ามเนื้อตอบสนองต่อความเจ็บปวด
15/11/66 Motor power : แขนขวา5 แขนซ้าย5 ขาขวา5 ขาซ้าย5
ระบบปัสสาวะ
ปัสสาวะสีเหลืองใส
สาเหตุ
1.โรคหัวใจชนิดต่างๆ เช่น โรคกล้ามเนื้อหัวใจ โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคลิ้นหัวใจ โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด
2.โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไทรอยด์ อ้วน
3.โรคทางเดินหายใจ เช่น โรคถุงลมโป่งพอง ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ
4.โรคไตเรื้อรัง
ภาวะเครียด การดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน การสูบบุหรี่
ผ่าตัดหัวใจ
ยา
Amidarone 200 mg.
warfarin 3 mg. (off)
lorazepam 0.5 mg.
omeprazole 20 mg.
atorvastatin 40 mg.
carvedilol 6.25 mg.
Furosemide 20 mg. inj. 2ml.
ภาวะแทรกซ้อน
อาจมีลิ่มเลือดที่ตกค้างอยู่ในหัวใจไปอุดตันหลอดเลือดต่างๆของร่างกาย โดยเฉพาะหลอดเลือดสมอง ซึ่งในผู้ป่วยหัวใจห้องบนสั่นพลิ้วมีโอกาสเกิดขึ้นมากกว่า คนปกติ 5 เท่า
อาการและอาการแสดง
เวียนศีรษะ หรือเป็นลมหมดสติ
เจ็บ แน่นหน้าอก
เหนื่อย เพลีย
ใจสั่นหรือใจเต้นเร็วไม่สม่ำเสมอ
ความสามารถในการออกำลังกายลดลง
หายใจถี่ หายใจไม่ออก เจ็บหน้าอก
ปัญหา (Problem list)
หายใจตื้น
Intake /Output inbalance
ปัสสาวะบ่อย มากกว่า 10 ครั้งต่อวัน
หากออกแรงมากจะมีอาการเหนื่อยมากขึ้น
ขาดความรู้เรื่องการหายใจที่ถูกต้อง
การรักษา
1.การรักษาแบบควบคุมอาการ เพื่อลดอาการให้น้อยที่สุดหรือไม่รุนแรง
การใช้ยาในกลุ่มที่ปรับแก้จังหวะการเต้นของหัวใจ(Antiarrhythmic drugs) เพื่อให้หัวใจกลับมาเต้นเป็นปกติ การใช้ยาไม่สามารถทำให้หายเป็นปกติได้ แต่จะช่วยคุมอาการและความรุนแรง ในกรรณีนี้จะต้องใช้ยาร่วมกับการช็อคหัวใจด้วยกระแสไฟฟ้า (Electrical Cardioversion)
การใช้ยาในกลุ่มที่ควบคุมการเต้นของหัวใจขณะที่เป็น AF ให้ช้าลง (rate controlling drug) เพื่อลดอาการและโรคแทรกซ้อนที่เกิดจาก AF และใช้ร่วมกับยาสลายลิ่มเลือด
2.การรักษาเพื่อให้หายขาด : เหมาะสำหรับผู้ป่วยที่มีแนวโน้มว่าสามารถรักษาให้หายขาดได้
การรักษาด้วยการจี้ด้วยคลื่นวิทยุ ที่เรียกว่า RF Ablation ค้นหาบริเวณที่เต้นผิดปกติ หลังจากนั้นใช้สายสวนชนิดพิเศษจี้จุดกำเนิด ซึ่งสามารถทำให้ AF หายไปได้
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ข้อวินิจฉัย : ผู้ป่วยเสี่ยงต่อภาวะเลือดออก
ข้อมูลสนับสนุน
ได้รับยา warfarin ตามแผนการรักษา
ผลทางห้องปฏิบัติการ
ค่า PT : 13.4 sec. ค่าปกติ 10.4-13.2 sec.
ค่า INR 1.14 ค่าปกติ <1.1
วัตถุประสงค์ : ไม่เกิดภาวะเลือดออก
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพและระดับความรู้สึกตัว
เจาะเลือดเพื่อตรวจค่า CBC,BUN
ดูแลให้ได้รับ O2 ตามแผนการรักษา
ติดตามเคลื่อนไฟฟ้าหัวใจ (EKG)
เกณฑ์การประเมิน
ค่า O2 ตามแผนการรักษา 94 %
ประเมินค่าสัญญาณชีพปกติ
ข้อวินิจฉัย : ผู้ป่วยมีภาวะหายใจไม่มีประสิทธิภาพ
วัตถุประสงค์ :
ผู้ป่วยมีการหายใจที่มีประสิทธิภาพและได้รับออกซิเจนเพียงพอ
ข้อมูลสนับสนุน
OD สังเกตค่า O2 sat ของผู้ป่วยไม่ถึง 94 %
SD ผู้ป่วยบอกว่าหายใจลำบาก
เกณฑ์การประเมิน
ค่า O2 ตามแผนการรักษา 94 %
กิจกรรมการพยาบาล
ฝึกการหายใจให้ผู้ป่วยเพื่อได้รับออกซิเจนตามเกณฑ์ประเมิน
ข้อวินิจฉัย : ผู้ป่วยเสี่ยงต่อหัวใจมีการทำงานหนัก
ข้อมูลสนับสนุน
OD สังเกตเห็นว่าผู้ป่วยมีอาการเหนื่อยง่าย
SD : ผู้ป่วยบอกว่าเหนื่อย
วัตถุประสงค์ : ผู้ป่วยได้ลดภาระการทำงานของหัวใจ
กิจกรรมการพยาบาล
ลดกิจกรรมที่ทำให้ผู้ป่วยต้องออกแรง
เกณฑ์การประเมิน
จับชีพจร
มีอัตราการเต้นของหัวใจและความสม่ำเสมอ
ฟังเสียงหัวใจ
ข้อวินิจฉัย : ผู้ป่วยเสี่ยงต่อภาวะไม่สมดุลของสารน้ำและอิเล็กโทรไลต์
วัตถุประสงค์ : ค่าอิเล็กโทรไลต์ปกติ
ข้อมูลสนับสนุน
OD :ได้รับยา Furosemide 20mg. inj. 2ml.
Intake 700 Output 2200 -> Negative balance
SD : ผู้ป่วยบอกว่า ปัสสาวะมากกว่า 10 ครั้งต่อวัน
ผู้ป่วยบอกว่า หากออกแรงมากจะมีอาการเหนื่อยมากขึ้น
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินและเฝ้าระวังค่าความผิดปกติทางห้อง lab
ดูแลให้สารน้ำและยาขับปัสสาวะตามแผนการรักษา
วัด สัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
จำกัดและแนะนำให้หลีกเลี่ยงอาหารที่มี
โพแทสเซียมสูง
ป้องกันไม่ให้เกิดการติดเชื้อในร่างกายเพราะจะทำให้โพแทสเซียมออกนอกเซลล์เพิ่มขึ้น
เกณฑ์การประเมิน
ดูแลสารน้ำเข้าและออก ให้สารน้ำออกอยู่ที่ 1,500 -2,000 ml ตามแผนการรักษา
ค่า electrolyte อยู่ในค่าปกติ
-Sodium(Na) : 136-145 mmol/L
-Potassium K : 3.5-5.1 mmol/L (ตามแผนการรักษาต้องได้ค่าPotassium K 4 mmol/L)
-Chloride : 98-107 mmol/L
-CO2 : 22-29 mmol-L
นศพต.ศุภิสรา พงศ์หล่อพิศิษฏ์ เลขที่ 62 ,นศพต.อนามฤณ พลมั่น เลขที่ 69