Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทวีปแอฟริกา by ด.ช.ธนารักษ์ อินทโฉม ชั้นม.2/1 เลขที่ 6 - Coggle Diagram
ทวีปแอฟริกา by ด.ช.ธนารักษ์ อินทโฉม ชั้นม.2/1 เลขที่ 6
ลักษณะทางกายภาพ
ลักษณะภูมิอากาศและพืชพรรณธรรรมชาติ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภูมิอากาศ
ความใกล้-ไกลของทะเล
ตำแหน่งที่ตั้งตามละติจูด
ลักษณะภูมิประเทศ
พายุหมุน
ทิศทางของลม
กระแสน้ำในมหาสมุทร
เขตภูมิอากาศและลักษณะพืชพรรณธรรมชาติ
ภูมิอากาศแบบร้อนชื้นแถบศูนย์สูตร
ป่าดิบชื้น
ภูมิอากาศแบบสะวันนา
ทุ่งหญ้าเขตร้อน
ภูมิอากาศแบบทะเลทราย
กระบองเพชร
ไม้พุ่ม
ไม้หนาม
ภูมิอากาศแบบกึ่งทะเลทราย
ทุ่งหญ้าแบบสั้นๆ มีต้นไม้ขึ้นน้อย
ภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน
ต้นไม้ใบแข็ง
ต้นไม้ใบเขียวมัน
ไม้พุ่ม
ไม้หนามที่ทนสภาพกึ่งแล้งได้
ภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้น
ป่าไม้ใบกว้าง
ภูมิอากาศแบบที่สูง
ไม้เขตร้อนบริเวณเชิงเขา
ไม้สกุลสนบริเวณที่ราบสูง
ลักษณะทรัพยากรธรรมชาติ
ดิน
พื้นดินที่เหมาะกับการทำเกษตรมีน้อย
แร่
ถ่านหิน
เหล็ก
น้ำมันดิบและแก๊สธรรมชาติ
โครเมียม
แมงกานีส
ฟอลเฟต
ป่าไม้และสัตว์ป่า
ป่าไม้
ส่วนใหญ่อยู่บริเวณรอบอ่าวกินีถึงแม่น้ำคองโก
สัตว์ป่าที่สำคัญ
สิงโต
เสือดาว
ช้างป่า
ควายป่า
ม้าลาย
แรด
ยีราฟ
นกชนิดต่างๆ
แหล่งน้ำ
แม่น้ำสายรอง
แม่น้ำคองโก
แม่น้ำไนเจอร์
แม่น้ำวอลตา
แม่น้ำแซมบีซี
แม่น้ำลิมโปโป
แม่น้ำเซเนกัล
ทะเลสาบ
ทะเลสาบแทนกันยีกา
ทะเลสาบมาลาวี
ทะเลสาบวิกตอเรีย
แม่น้ำสายหลัก
แม่น้ำไนล์
ทะเลและมหาสมุทร
ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน
ทะเลแดง
มหาสมุทรอินเดีย
มหาสมุทรแอตแลนติก
อ่าวกินี
ลักษณะภูมิประเทศ
แอ่งหรือแอ่งแผ่นดิน
เกาะและหมู่เกาะ
ที่ราบสูงและเทือกเขา
ที่ราบชายฝั่งทะเลและที่ราบลุ่มน้ำ
ลักษณะทั่วไป
ภูมิภาค
แอฟริกากลาง
แอฟริกาตะวันออก
แอฟริกาตะวันตก
แอฟริกาใต้
แอฟริกาเหนือ
ที่ตั้งและอาณาเขต
ทิศใต้ติดมหาสมุทรแอตแลนติกและมหาสมุทรอินเดีย
ทิศตะวันออกติดมหาสมุทรอินเดียและทะเลแดง
ทิศเหนือติดทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและช่องแคบยิบรอลตาร์
ทิศตะวันตกติดมหาสมุทรแอตแลนติกและอ่าวกินี
ตั้งอยู่ระหว่างละติจูด 37 องศาเหนือถึง 34 องศาใต้ ลองจิจูด 17 องศาตะวันตก ถึง 51 องศาตะวันออก
ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและแนวทางการจัดการ
แนวทางการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การสร้างเอกภาพในการแก้ปัญหา
การร่วมมือกับองค์กรนานาชาติ
การปฏิรูปกฎหมาและการบังคับใช้
ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาขยะและสิ่งปฏิกูล
ปัญหาทรัพยากรแร่และแร่พลังงาน
ปัญหาทรัพยากรน้ำ
ปัญหาทรัพยากรดิน
ปัญหาทรัพยากรสัตว์ป่า
ลักษณะประชากร
การตั้งถิ่นฐาน
เขตที่ประชาการตั้งถิ่นฐานอยู่เบาบาง
บริเวณที่แห้งแล้ง ทุรกันดาร และเป็นป่าดิบชื้น
เขตที่สูงด้านตะวันออก
บริเวณทะเลทราย
เขตที่ประชาการตั้งถิ่นฐานอยู่หนาแน่น
ที่ราบลุ่มน้ำไนล์
ที่ราบลุ่มน้ำไนเจอร์
ที่ราบชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือ
ที่ราบชายฝั่งอ่าวกินี
ที่ราบสูงทางตะวันออก
ที่ราบชายฝั่งทางตอนใต้
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร
ปัจจัยด้านกายภาพ
แอฟริกาตะวันออกมีประชากรรวมสูงสุด
มีอากาศอบอุ่น
เป็นที่ราบสูง
มีเนื้อที่กว้างใหญ่
มีทุ่งหญ้าสำหรับเลี้ยงสัตว์
แอฟริกาใต้มีประชากรรวมน้อยที่สุด
ทางตอนเหนือมีป่าฝนเขตร้อนหนาทึบ
ทางตะวันตกเฉียงใต้มีทะเลทราย
เนื้อที่ไม่กว้างใหญ่
ปัจจัยด้านสังคม
ทวีปแอฟริกามีอัตราการเกิดสูงกว่าการตาย เนื่องจากความไม่พร้อมในการให้บริการคุมกำเนิด
ภัยพิบัติและแนวทางจัดการ
ภัยพิบัติที่สำคัญ
ไฟป่า
อุทกภัย
ภัยแล้งและการขยายตัวของทะเลทราย
แนวทางการจัดการภัยพิบัติ
การร่วมมือกับองค์กรต่างประเทศและข้อตกลงนานาชาติ
การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อแก้ปัญหาภัยพิบัติ
การแก้ปัญหาภัยแล้งและขาดแคลนอาหาร
การรับความช่วยเหลือจากหน่วยงานต่างๆหรือองค์กรระหว่างประเทศ
ลักษณะสังคมและวัฒนธรรม
ลักษณะทั่วไปทางสังคมและวัฒนธรรม
ภาษา
ไนเจอร์-คองโก
ไนโล-สะฮารา
อินโด-ยูโรเปียน
แอฟโฟร-เอเชียติก
คอยซาน
มาลาโย-โปลินีเซียน
การนับถือศาสนา
คริสต์ศาสนา 48.6%
ศาสนาอิสลาม 41.6%
ความเชื่อดั้งเดิม 8.6%
อื่นๆ 1.2%
เชื้อชาติ
กลุ่มนิกรอยด์
กลุ่มคอเคซอยด์
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
การเป็นเมือง
ได้ติดต่อกับทวีปอื่นมากขึ้นจึงมีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยยีมากขึ้น
การรองรับผู้อพยพย้ายถิ่น
การรับรองผู้ประสบภัย
ภัยแล้ง
เข้าตัวเมือง
บางเมืองรับประชากรไม่ไหว
เกิดปัญหาเศรษฐกิจ
โรคระบาด
อื่นๆ
ลักษณะเศรษฐกิจ
ลักษณะทั่วไปทางเศรษฐกิจ
อุตสาหกรรม
พานิชยกรรม
การทำเหมืองแร่
การคมนาคมขนส่ง
เกษตรกรรม
การทำป่าไม้
การทำประมง
การเลี้ยงสัตว์
การเพาะปลูก
ประชากร60%อยู่ในภาคเกษตรกรรม
ส่วนมากเป็นการเกษตรเพื่อการยังชีพ
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ
ปัจจัยทางกายภาพ
ปรับเปลี่ยนแนวทางการเพาะปลูกให้สอดคล้องกับพื้นที่ มุ่งเน้นปลูกธัญพืช
ส่งเสริมการปลูกพืชผักที่ใช้เป็นอาหารสำหรับบริโภคภายในประเทศเป็นหลัก
ปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม
ส่งเสริมการลงทุนจากต่างชาติ
ผลิตสินค้าแปรรูปแทนการส่งออกวัตถุดิบเพื่อเพิ่มมูลค่าของสินค้า
ยอมรับความร่วมมือทางเศรษฐกิจเพิ่มมากขึ้น