Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มีภาวะผิดปกติ ทางระบบประสาท - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มีภาวะผิดปกติ
ทางระบบประสาท
การประเมินอาการทางระบบประสาทในเด็ก
อาการสำคัญทางระบบประสาท (Neurological signs)
ระดับความรู้สึกตัว
รู้สึกตัวดี ( alert )
ง่วง ( drowsy )
ซึม ( stuporous )
ใกล้หมดสติ ( semicoma )
หมดสติ ( coma )
ระดับความรู้สึกตัว (Level of concious)
รู้สึกตัวดี ( alert ) – ทำตามคำสั่งได้ถูกต้อง รู้จัก
ตัวเองและสิ่งแวดล้อมได้ด
ง่วง ( drowsy ) – มีความรู้สึกตัวเลวลงเล็กน้อย
จะง่วงหลับแต่เมื่อปลุกจะตื่นและตอบคำถามได้
ซึม ( stuporous )- ผู้ป่วยจะมีอการซึมลง จะหลับเป็นส่วนใหญ่
ปลุกไม่ค่อยตื่น แต่ยังสามารถตอบสนองต่อความเจ็บปวดได้อย่างมีความหมาย
ใกล้หมดสติ ( semicoma )- ผู้ป่วยจะหลับตลอดเวลา ตอบสนอง
ต่อความเจ็บปวดอย่างไม่มีจุดหมาย
หมดสติ ( coma ) – ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว ไม่ตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น
อาการทางตา : ปฏิกิริยารูม่านตาต่อแสง
โดยการฉายไฟ ค่อย ๆ ฉายจากหางตามาหยุดตรง
กลางสักครู่ แล้วผ่านเลยไปทางหัวตา รูม่านตาปกติจะมีลักษณะกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ๒-๓ มิลลิเมตร
ปฏิกิริยาต่อแสง (React to light)
ปฏิกิริยาช้า (Sluggish)
ไม่หดตัวเลย (No reaction to light)
การตรวจประเมินอื้นๆ เช่น CT, MRI , X-ray
การเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพ
อุณหภูมิ
ชีพจร
การหายใจ
ความดันโลหิต
โรคทางระบบประสาทที่พบบ่อยในเด็ก
โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ ( Meningitis )
เชื้อที่ทำให้เกิดโรค: แบคทีเรีย,ไวรัส,เชื้อรา,พยาธิ
สาเหตุ :
การติดเชื้อทางเดินหายใจ
หูชั้นกลางอักเสบ
ไซนัสอักเสบ
บาดเจ็บท่ศี รี ษะ
ผู้ป่วยที่ได้รับ steroid, chemotherapy
เชื้อโรคเข้าได้หลายทาง
ทางกระแสเลือด
จากอวัยวะใกล้เคียง เช่นหูชั้นกลางอักเสบ
ทางบาดแผล เช่น ศีรษะแตก, แผลเจาะหลัง
ไข้ ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน สับสน ซึม ไวต่อการ
กระตุ้น กลัวแสง
ตามัว
ความดันในสมองเพิ่มขึ้น
ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง
ชัก
การวินิจฉัย :
จากประวัติ
อาการและอาการแสดง
ตรวจน้ำไขสันหลัง
CBC, Hemoculture
การรักษา :
การรักษาเฉพาะ
การรักษาตามอาการ
การรักษาอาการแทรกซ้อน
โรคสมองอักเสบ ( Encephalitis )
เชื้อโรคที่ทำให้เกิดโรค : แบคทเรีย,ไวรัส,เชื้อรา,protozoa
ไข้สูง ปวดศรีษะ ปวดต้นคอ คอแข็ง อาเจียน หายใจไม่สม่ำเสมอ
ซึมลง การเคลื่อนไหวผิดปกติ ชัก ขึ้นกับความรุนแรงของโรค และ
การถูกทำลายของเนื้อสมอง
การวินิจฉัยโรค :
จากประวัติ
จากอาการและอาการแสดง
การตรวจน้ำไขสันหลัง
การเพาะเชื้อ
การรักษา :
ให้ antibiotic
ให้ยาตามอาการ
ป้องกันโรคแทรกซ้อน
รักษาโรคแทรกซ้อน
กลุ่มอาการชัก ( Convulsion )
ชักจากไข้สูง : อาการชักที่เกิดในเด็กขณะที่มีอุณหภูมกายสูง โดยสาเหตุของไข้ไม่ได้มา
จากการติดเชื้อของสมอง พบในเด็กอายุ ๖ เดือน ถึง ๕ ปี
สาเหตุ
การติดเชื้อในระบบหายใจ
หูชั้นกลางอักเสบ
กระเพาะอาหารลำไส้อักเสบ
ต่อมทอลซิลอักเสบ
การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ
ติดเชื้อ Virus
การวินิจฉัย
การซักประวัติ : ประวัติติดเชื้อ มีไข้
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ : CBC การเพาะเชื้อ การตรวจปัสสาวะ
การตรวจพิเศษ : ถ้าเด็กมี Complex febrile convulsion แพทย์ตรวจเพิ่มเติมโดยทำ CT scan, ตรวจคลื่นไฟฟ้าสมอง, เจาะหลัง ตรวจน้ำไขสันหลัง
การรักษามี ๒ ระยะ
๑. ระยะที่กำลังมีอาการชัก : กรณชักนาน หลักการรักษาคือ หยุดชักเร็วที่สุด
โดยไม่มีภาวะ cerebral hypoxia แพทย์ให้ยา Diazepam ทาง IV
: ชักแบบ Simple febrile convulsion ไม่จำเป็นต้องให้ยาระงับชัก สิ่งสำคัญคือ
การให้คำแนะนำในการเช็ดตัวลดไข้ การให้ยาลดไข้
๒. ระยะหลังจากหยุดอาการชัก : พ้นระยะฉุกเฉิน แพทย์ตรวจร่างกายและซัก
ประวัติอย่างละเอียด เพื่อหาสาเหตุและจัดประเภทของอาการชัก เพื่อเป็นแนวทางในการรักษาและป้องกันอาการชักจากไข้สูงต่อไป
โรคลมชัก Epilepsy
: อาการชักที่เกิดขึ้นซ้ำๆ โดยไม่สัมพันธ์กับการมีไข้มีสาเหตุจากความผิดปกติภายในระบบประสาท
สาเหตุ : มีรอยโรคในเนื้อสมอง เกิดจากพันธุกรรม หาสาเหตุไม่พบ หรือจากภาวะแทรกซ้อนจากการติดเชื้อในสมอง เยื่อหุ้มสมอง ทำให้เซลล์ระบบประสาทหลั่งกระแสประสาทที่ผิดปกติออกมา ทำให้เกิดอาการชัก
การวินิจฉัย
จากประวัติ
การตรวจร่างกาย : ตรวจระบบประสาท ประเมินพัฒนาการด้านต่าง ๆ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจพิเศษอื่น ๆ : การบันทึก VDO ขณะมีอาการชัก การตรวจคลื่นไฟฟ้า สมอง CT scan
ยากันชักที่ใช้บ่อยๆ
Phenobarbital
Dilantin
Depakine
Carbamazepine
Diazepam
ภาวะน้ำคั่งในสมอง ( Hydrocephalus )
คือการที่มีีีน้ำไขสันหลังคั่งอยู่ในโพรงสมองและไขสันหลังทำให้ศีรษะโตขึ้น
สาเหตุ
การสร้างน้ำไขสันหลังมากเกินไป
การอุดตันของทางเดินน้ำไขสันหลัง
การดูดซึมของน้ำไขสันหลังผิดปกติ เช่น Congenital hypoplosia,ผลของการอักเสบหรือติดเชื้อจากชิ้น arachnoid, ภาวะเลือดออกใต้ชั้นArachnoia
หลังบาดเจ็บที่ศรีษะ
เลือดออกในน้ำไขสันหลัง
มี cyst, tumor ใน arachnoid
หลังภาวะเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
ภาวะตีบตันทางเดินน้ำไขสันหลังแต่กำเนิด
อาการ และอาการแสดง:
ศีรษะโต
หลอดเลือดดำบริเวณใบหน้าหรือศีรษะโป่งตึง เห็นชัดมากกว่าปกติ
ตาพร่ามัว เห็นภาพซ้อน
อาเจียนพุ่ง
ปวดศีรษะมาก
สัญญาณชีพผิดปกติ
ภาพ X-ray กะโหลกศีรษะมีการแยกของรอยประสาทของกระดูกกะโหลกศีรษะ
การรักษา :
ลดปริมาณของน้ำไขสันหลัง
การเจาะหลัง ไม่ควรทำในรายอุดตันของทางเดินน้ำไขสันหลัง
การผ่าตัดเปลี่ยนทางเดินน้ำไขสันหลัง(Shunting) ที่นิยมคือ VPShunt (ventriculo – peritoneal Shunt)
ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
( Increase ICP )
สาเหตุ :
Brain tumor
Hydrocephalus
ติดเชื้อในสมอง
เลือดออกในกะโหลกศีรษะ
อาการ :
ระยะเริ่มแรก : ปวดหัว คลื่นไส้
ระยะกลาง : ระดับความรู่สึกตัวลดลง
ระยะสุดท้าย : ไม่รู้สึกตัว ชัก
การรักษา :
รักษาที่สาเหตุ
ลดความดันในสมองโดยใช้ยา, เจาะไขสันหลัง
สมองพิการ (Cerebral Palsy : CP)
คือการบกพร่องทางสมองที่ใช้ควบคุมกล้ามเนื้อ ทำให้เกิด ความผิดปกติในการ
เคลื่อนไหวการทรงตัว ในบางคนอาจมีภาวะปัญญาอ่อนร่วมด้วย
สาเหตุ
ระยะก่อนคลอด : การขาดอาหารในครรภ์ มารดามีภาวะชัก การให้ยาบางชนิดของมารดา มารดาได้รับอุบัติเหตุ หรือติดเชื้อขณะตั้งครรภ์ คลอดก่อนกำหนด
ระยะคลอด : สมองขาดออกซิเจน ได้รับอันตรายจากการคลอด
ระยะหลังคลอด : การได้รับการกระทบกระเทือนที่ศรีษะ ตัวเหลืองเมื่อแรกเกิด การขาดออกซิเจน การติดเชื้อบริเวณสมอง การได้รับสารพิษ
อาการและอาการแสดง
ชนิดกล้ามเนื้อหดเกร็ง (Spastic) ไม่สามารถควบคุมการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อได้
Extrapyramidal cerebral palsy เคลื่อนไหวผิดปกติตลอดเวลาขณะตื่น
Ataxia Cerebral palsy มีอาการเดินเซ ล้มง่าย กล้ามเนื้อมีความตึงตัวน้อยควบคุมการทรงตัวได้ไม่ดี
Mixed type มีอาการหลายอย่าง เช่น มีทั้ง Ataxia และ Spastic
การวินิจฉัย
จากประวัติ
การตรวจร่างกาย : ผิดปกติท่าทางและการเคลื่อนไหว
การตรวจพิเศษ : U/S , CT scan , MRI
การรักษา
ให้ยาคลายกล้ามเนื้อให้เฉพาะรายที่มีอาการเกร็งของกล้ามเนื้อมาก
ทำกายภาพบำบัด
การให้ Early stimulation เพื่อให้สมองส่วนต่าง ๆ พัฒนาได้มากที่สุด
แก้ไขความผิดปกติของการรับรู้
แก้ไขความผิดปกติของระบบประสาทส่วนอื่น เช่น ชัก
ให้คำแนะนำผู้ปกครองในการดูแลเด็กในชีวิตประจำวันและส่งเสริมให้เด็กฝึกทักษะของร่างกาย
Congenital anomalies
ความผิดรูปแต่กำเนิดของระบบประสาทส่วนกลาง คือ ความบกพร่องของ
neural tube ที่เกิดในระยะตัวอ่อนมี๒กล่ม
neurulation defect : เกิดจาก neural tube ไม่ปิด
๑. Anencephaly
๒. Myelomeningocele
post neurulation defect : เกิดหลังจาก neural tube ปิด
๑. Encephalocele
๒. Spina dysraphism
Encephalomeningoceles
ความผิดปกติแต่กำเนิด มีเนื้อสมอง, เยื่อหุ้มสมองยื่นผ่านรูเปิดของกะโหลก
ออกมานอกโพรงกะโหลก
Cranial meningocele คือ เยื่อหุ้มสมอง, CSF ยื่นออกมา
Encephalomeningocele คือ เนื้อสมอง, เยื่อหุ้มสมองยื่นออกมา
Encephalomeningoceles
การวินิจฉัยโรค : ผู้ปู่วยมีก้อนที่บริเวณใบหน้าตั้งแต่เกิด,ก้อนโตตามตัว, ก้อนเต้นได้ตามจังหวะชีพจร
การวินิจฉัยแยกโรค : ก้อนเนื้องอก,ถุงน้ำบริเวณใบหน้า
Investigation : film skull, AP. ; CT scan
การรักษา : การผ่าตัดปิดรูในโพรงกระโหลก
Spinal dysraphism
-
Dysraphism คือ ความบกพร่องในการเชื่อมปิดตรงแนวกลางของอวัยวะ เช่น
neuroectoderm, mesoderm, ectoderm
Spina bifida occulta :
ความบกพร่องของ mesoderm คือ ส่วนของ spinous process, lamina จะขาดหายไป ท่รี ะดับ L5, S1
ไม่มีความผิดปกติของระบบประสาท
ผิวหนังมีกระจุกขน ปานแดง ก้อนไขมันอยู่ข้างใต้
film L-S spine ช่วยวินิจฉัยได้ ๒๐-๓๐ %
Spinal meningocele :
เป็นถุงน้ำที่มีผิวหนังปกติคลุมที่กลางหลัง
พบบ่อยที่ lumbosacral
๑๐% ของ spina bifida จะมี meningocele
มีแต่ CSF ไม่มี ไขสันหลัง
Myelomeningocele :
ความผิดปกติที่รุนแรงที่สุด
พบก้อนที่กลางหลัง
มี CSF, ไขสันหลัง,รากประสาทอยู่ด้วย
อาการทางคลินิก : ให้ตรวจระบบประสาทเพื่อหาระดับไขสันหลังที่เสียหน้าที่โดยการตรวจความรู้สึกเจ็บ, การเคลื่อนไหวแขนขา
อาการ ขาเป็นอัมพาต, neurogenic bladder
เสียชีวิตจากการติดเชื้อ
การรักษา : การผ่าตัด