Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิด ทฤษฎี หลักการพยาบาลครอบครัวแบบองค์รวม (2) - Coggle Diagram
แนวคิด ทฤษฎี หลักการพยาบาลครอบครัวแบบองค์รวม (2)
บทบาทหน้าที่ของพยาบาลครอบครัว
ผู้ให้บริการ(Health care provider)
ผู้ให้ความรู้ คำแนะนำและข้อมูลต่างๆ(Health educator)
ผู้ให้คำปรึกษาแก้ปัญหาต่างๆ(Health counselor)
เป็นตัวอย่าง(Role model)
เป็นผู้รักษาผลประโยชน์ของผู้รับบริการ(Client Advocate)
เป็นผู้ร่วมงาน(collaborator)
ึ7. ผู้ประสานงาน(Coordinator)
เป็นผู้วางแผนการจำหน่ายผู้ป่วย(Discharge Planner)
เป็นผู้ค้นหาผู้ป่วย(case finder)
เป็นผู้สนับสนุน(Supporter)
เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Change Agent and leader)
เป็นนักวิจัย(Researcher)
การเสริมสร้างความเข้มแข็ง(Empowerment)
ความสำคัญ
การแบ่งอำนาจระหว่างผู้บริหาร เพื่อนร่วมงาน และผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อให้ทุกคนสามารถที่จะไปถึงเป้าหมายของงานหรือขององค์กรและเสริมสร้างให้กับผู้อื่นเพื่อให้เขามีความสามารถที่จะไปถึงจุดหมายเช่นกัน
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารการพยาบาล
ระบบโครงสร้างองค์กร
วัฒนธรรมองค์กร
ผู้บริหารองค์กร
บุคคลากรในองค์กรหนึ่งๆ
ความไว้วางใจในองค์กร
ลักษณะงาน
ึ7. สัมพันธภาพระหว่างหัวหน้ากับลูกน้อง
การสร้างความเข้มแข็งของครอบครัว
หมายถึง การที่คนในครอบครัวมีการจัดการและการแก้ไขปัญหาร่วมกันในครอบครัวแล้วถึงเกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้น
แนวทางการสร้างความเข้มแข็งของสถาบันครอบครัว
การส่งเสริมสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัว เพื่อสร้างความรัก ความอบอุ่น และความมเข้าใจภายในครอบครัว
การปลูกฝังให้มีวิถีการดดำเนินชีวิตที่ดี เพื่อจะได้มีวิถีการดำเนินชีวิตที่ดีและถูกต้อง
การมีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อไม่สร้างปัญหาให้กับตนเอง ครอบครัว และสังคม และมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหา
แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส่วนร่วม
การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ(Participation in decision-making)
การมีส่วนร่วมในการปฎิบัติ(Paticipation in implementation)
การมีส่วนร่วมในผลประโยชน์(Participation in benefits)
การมีส่วนร่วมในการประเมินผล(Participation in evaluation)
ทฤษฎีการพยาบาลครอบครัว
ทฤษฎีระบบครอบครัว(Family system theory)
ทฤษฎีระบบโครงสร้างและหนาที่(Structural-functional theory)
ทฤษฎีพัฒนาการของครอบครัว(Family development theory)
ทฤษฎีความผูกพัน
ทฤษฎีวิกฤต
ทฤษฎีสัมพันธ์ในครอบครัว(family interaction Theory)