Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิด หลักการสาธารณสุข และการพยาบาลอนามัยชุมชน :, นิยามคำว่า ระบบสุขภาพ…
แนวคิด หลักการสาธารณสุข และการพยาบาลอนามัยชุมชน :
วิวัฒนาการของสาธารณสุข
ในช่วงพ.ศ. 2424 ของรัชกาลที่ 5 ได้ตั้งคณะทำงาน (คอมมิตตี) จัดการโรงพยาบาลขึ้น ต่อมาก็ได้เปลี่ยนชื่อเป็น โรงพยาบาลศิริราชพยาบาล ถูกก่อตั้งขึ้นเนื่องจากได้เกิดโรคอหิวาตกโรค ซึ่งเป็นโรคติดต่อ โดยการกินอาหารและน้ำที่มีเชื้อปะปนอยู่
จัดตั้งโรงพยาบาลโรคติดต่อขึ้น แห่งแรกในประเทศไทย เมื่อ พ.ศ. 2448 ที่บริเวณตำบลปากคลองสาน อ.คลองสาน จ.ธนบุรี
พ.ศ. 2456 ตั้งโอสถศาลาขึ้นในบางจังหวัด (โอสถสถาน) ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น สุขศาลา เพื่อเป็นสถานสี่บำบัดโรคและขายยา ซึ่งสุขศาลานั้นมี 2 ประเภท
สุขศาลาชั้นหนึ่ง จะมีแพทย์ประจำ
สุขศาลาชั้นสอง จะไม่มีแพทย์ประจำ
พ.ศ. 2485 มีการสถาปนา กระทรวงสาธารณสุข มีกรมการแพทย์อยู่ในสังกัด ได้นำสุขศาลาชั้นหนึ่งไปตั้งอยู่ในอำเภอใหญ่ๆ และบางจังหวัดปรับปรุงขึ้นเป็นรพ.ประจำอำเภอและประจำจังหวัด
การพัฒนาของสุขศาลาชั้นสอง ส่วนใหญ่สังกัดกระทรวงสาธารณสุข
สุขศาลาชั้นสอง —> สถานีอนามัยชั้นสอง —> สถานีอนามัย
การพัฒนาของสุขศาลาชั้นหนึ่ง สังกัดกรมอนามัย
สุขศาลาชั้นหนึ่ง —> ศูนย์การแพทย์อนามัยชนบท —>ศูนย์การแพทย์และอนามัย —> โรงพยาบาลอำเภอ —> โรงพยาบาลชุมชน
พ.ศ. 2461 รัชกาลที่ 7 ได้ในสถาปนา กรมสาธารณสุขขึ้นในกระทรวงมหาดไทย โดยมีกิจกรรมสงเคราะห์แม่และเด็ก โดยมีการกำหนดตำแหน่ง นางสงเคราะห์สุขาภิบาล
การเปลี่ยนแปลงเปลี่ยนชื่อและการเพิ่มตำแหน่ง
นางสงเคราะห์สุขาภิบาล —> นางสงเคราะห์เทศบาล —> เพิ่มตำแหน่ง
นางผดุงครรภ์ (กิจกรรมขยายตัวเป็นวงกว้าง) นางสงเคราะห์ —>
พยาบาลอนามัย
ความหมายและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการสาธารณสุขและอนามัยชุมชน
แนวคิดและหลักการอนามัยชุมชน
เป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุข คือ การที่ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข และระบบสุขภาพยั่งยืน
ความหมายและความสำคัญ
การอนามัยชุมชนปชช.ที่รวมกันอยู่ในชุมชน โดยมีสภาพร่างกายและจิตใจที่สมบูรณ์และอยู่ในสังคมที่ดี
การสาธารณสุข ความสุขสบายของชุมชน
แนวทางของการกระทำที่มีอิทธิพลต่อสถาบันองค์การบริการและการเงินการคลังของระบบสาธารณสุข เพื่อบรรลุการแก้ไขความขัดแย้งในวัตถุประสงค์ของ
การให้บริการด้านสุขภาพ 3 ประการ
การเข้าถึง 2. คุณภาพ 3. ความคุ้มค่า
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550
นิยามคำว่า สุขภาพ ไว้ว่า ภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางกาย ทางจิต ทางปัญญาและทางสังคม เชื่อมโยงกันเป็นองค์รวมอย่างสมดุล
แผนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
จัดการบริการสุขภาพให้กับปชช ครอบคลุมในทุกมิติทั้งด้านการส่งเสริม การป้องกัน การรักษาพยาบาลการฟื้นฟูสมรรถภาพ รวมถึงการคุ้มครองผู้บริโภค
เป้าหมาย ให้เกิดผลดีต่อสุขภาพของปชช
ลดอัตราการป่วย 3. ลดอัตราการตาย
ลดระยะเวลาการรอคอย 4. ลดความแออัด
แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ด้านสาธารณสุข
แบ่งออกเป็น 4 ยุทธศาสตร์
การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคเป็นเลิศ
1.1 พัฒนาคุณภาพชีวิตทุกกลุ่มวัย
1.2 ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
1.3 ความปลอดภัยด้านอาหารและลดปัจจัยเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
บริการเป็นเลิศ
บุคลากรเป็นเลิศ
บริหารจัดการเป็นเลิศ
จุดเน้นของการสาธารณสุขใหม่
ให้ความสำคัญต่อแรงผลักดันที่ทำให้เกิดการปกป้องสภาวะทางสุขภาพของชุมชน มากกว่าการเน้นประเด็นด้านโรคที่เป็นปัญหา
ต้องเป็นการร่วมมือกันของสาขาต่างๆในสังคม เพื่อปกป้องสุขภาพ
การสาธารณสุขใหม่
กระบวนการทางสังคมเพื่อการแก้ปัญหาการเสริมสร้างสุขภาพของประชากร
ระบบบริการสุขภาพ
ความหมาย
กิจกรรมทุกกิจกรรมที่มีวัตถุประสงค์ในการส่งเสริมสุขภาพคงไว้หรือรักษาสุขภาพให้ดี
เกณฑ์มาตรฐานด้านสถาปัตยกรรม เกี่ยวกับพื้นที่ใช้สอยอาคาร มี 7 เกณฑ์ ดังนี้
การบริการระดับปฐมภูมิ
การบริการสุขภาพแบบองค์รวม
• Patient-centered การดูแลโดยยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง
• Family-oriented การดูแลทั้งครอบครัว
• Community-oriented การดูแลในระดับชุมชน
แนวทาง
เป็นกระบวนการส่งเสริม และรักษาสุขภาพ(เชิงรุก)
ระบบบริการการพยาบาลตามหลัก universal coverage
การพยาบาลแบบปฐมภูมิ
การบริการสุขภาพแก่ประชาชนทุกวันที่เน้น การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันการเจ็บป่วยการให้ความรู้ทางสุขภาพในการดูแลตนเอง
การพยาบาลแบบทุติยภูมิ
2.1 การคัดกรองสุขภาพ
2.2 การค้นหาปัจจัยเสี่ยวที่ก่อให้เกิดโรค
2.3 การให้บริการด้านวัคซีนในการป้องกันโรค
การพยาบาลระดับตติยภูมิ
เน้นการแก้ปัญหาความเจ็บป่วยและผลกระทบจากความเจ็บป่วยที่มีความซับซ้อน รุนแรงจนถึงขั้นวิกฤต ต้องการความช่วยเหลือจากบุคลากรด้านสุขภาพที่มีความรู้ความสามารถเฉพาะทาง ใช้เทคโนโลยีชั้นสูงในการสืบค้น
การพยาบาลครอบครัว
ความหมาย การพยาบาลที่ให้กับครอบครัวซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการพยาบาลอนามัยชุมชนตามแนวคิด ต่อไปนี้
เป้าหมายสำคัญ คือ การส่งเสริมและการดำรงรักษาสุขภาพในการส่งเสริมสุขภาพ เช่น การรับภูมิคุ้มกันโรค
คลินิกหมอครอบครัว (primary care cluster)
ความหมาย การจัดรูปแบบบริการสาธารณสุขในระดับปฐมภูมิเป็นกลุ่มบริการ โดยการจัดให้มีทีมสหวิชาชีพ
Family medical care team ประกอบด้วย แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัช กายภาพบำบัด นักวิชาการสาธารณสุขและวิชาชีพอื่นๆ ร่วมกันดูแลปชช โดยจัดให้มีจำนวนประชากร 10,000 คน/ทีม ทำให้ดูแลปชช.แบบญาติมิตร
3 ทีมรวมกันจึงจะเป็น PCC : คลินิกหมอครอบครัว
ใช้หลักเวชศาสตร์ครอบครัวเป็นหัวใจในการดำเนินงาน และให้ทีม 3 ทีมมารวมตัวกันเกิดเป็นกลุ่มเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
วัตถุประสงค์
เพื่อลดความเหลื่อมล้ำ เป็นการดูแลแบบองค์รวม
ตามแนวคิด บริกาาทุกคน ทุกอย่าง ทุกที่ ทุกเวลาด้วยเทคโนโลยี
ทีมหมอครอบครัว อันประกอบด้วย แพมย์เวชศาสตร์ครอบครัวและสหวิชาชีพ
บทบาท
บริการทุกคน คือ ดูแลตั้งแต่ตั้งครรภ์ วัยทารกจนถึงวัยสูงอายุ (ทุกวัย)
บริการทุกอย่าง คืองานส่งเสริมสุขภาพ งานป้องกันโรค งานรักษา งานฟื้นฟูและคุ้มครองผู้บริโภค
บริการทุกที่ คือ ทำงานในที่ตั้งคลินิกหมอครอบครัว ทำงานเชิงรุกให้บริการที่บ้านและในชุมชน
บริการทุกเวลาด้วยเทคโนโลยี คือ ให้คำปรึกษา ด้วยการทิ้งคำถามในกลุ่มไลน์หรือเฟสบุ๊ค (ต้องระวังเรื่องความลับของผู้ป่วย สามารถถ่ายภาพเพื่อให้หมอครอบครัวช่วยแนะนำดูแลหรือทรศ. ในเวลาเจ็บป่วยฉุกเฉินตามแต่จะตกลงกัน)
การพยาบาลสาธารณสุข (การพยาบาลอนามัยชุมชน)
หมายถึง เป็นการบริการพยาบาลสาขาหนึ่งที่นำความรู้และทักษะการพยาบาลการสาธารณสุขและศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะ พฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ มาประยุกต์
เป้าหมาย เพื่อส่งเสริมและยกระดับสุขภาพอนามัยและคุณภาพชีวิตของปชช.ส่วนรวมในชุมชน โดยต้องได้รับความร่วมมือของผู้ใช้บริการและมีการประสานงานกับทีมสุขภาพอื่นๆ
วัตถุประสงค์
ให้การศึกษาอบรมแก่ชุมชน บุคลากรทางการพยาบาลและสาธารณสุขอื่น
คุณลักษณะ
บุคลิกภาพเชิงวิชาชีพ
น่าเชื่อถือในฐานะพยาบาล
พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
วิเคราะห์และประเมินตนเอง รับฟังคำวิพากษ์วิจารณ์ เพื่อพัฒนาตนเอง
มีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพพยาบาล
แสดงออกถึงความภูมิใจ มีอุดมการณ์และศรัทธาในวิชาชีพ
มีทักษะในการติดต่อสื่อสาร
สามารถฟังอย่สงเข้าใจและสรุปประเด็นจากการฟังได้ถูกต้อง ชัดเจน
ทักษะสร้างสัมพันธภาพ
ลักษณะเฉพาะของการพยาบาลอยามันชุมชน
ครอบคลุมบริการทุกด้าน
บทบาทพยาบาลอนามัยชุมชน
บทบาทผู้พิทักษ์ผลประโยชน์ (advocate)
พยาบาลต้องให้ข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพ สิทธิประโยชน์ต่างๆ ที่ผู้รับบริการพึงได้รับ เพื่อช่วยให้ผู้รับบริการสามารถตัดสินใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างเหมาะสม
บทบาทผู้ให้บริการสุขภาพ (care provider)
ให้บริการแก่บุคคล ครอบครัวและชุมชน โดยดูแลเมื่อเจ็บป่วย สร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันและควบคุมโรค ปัจจัยที่คุกคาม การตรวจวินิจฉัยและบำบัดภาวะความเจ็บป่วย ตลอดจนฟื้นฟูสมรรถภาพ
บทบาทการเป็นผู้สอน หรือ ให้ความรู้ด้านสุขภาพ (educator) - ส่งเสริม สนับสนุนให้ปชชทุกกลุ่มอายุ ทุกครอบครัวมีความรู้ เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคโดยใช้เทคนิค (empowerment) - มุ่งเน้นการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว กลุ่มคนและชุมชน
บทบาทการเป็นที่ปรึกษา (counselor) เน้นการช่วยเหลือบุคคลในการพัฒนาคงามรู้สึกและพฤติกรรมใหม่ และกระตุ้นผู้ใช้บริการ ให้มองหาทางเลือก รู้จักเลือกพฤติกรรมที่ผลดี และสามารถควบคุมตนเองได้
บทบาทผู้บริหารจัดการ (manager) ขั้นตอน 5 ขั้นตอน 1. ประเมินปัญหาและความต้องการของปชช 2. วางแผน 3. ดำเนินการแก้ไขปัญหาร่วมกันภายในชุมชน 4. ติดตาม สนับสนุน ดำเนินงานให้บรรลุเป้าหมาย 5. ประเมินผล ทั้งด้านทีมสุขภาพและด้านปชช
บทบาทการเป็นผู้นำการเปลี่ยนเเปลง (change agent)
บทบาทผู้ประสานงาน (coordinator)
ประสานงานเพื่อให้มีการผสมผสานการบริการสุขภาพได้ครอบคลุมประชาชนทุกกลุ่
1 more item...
บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของพยาบาลอนามัยชุมชน
มิติการให้บริการ
การสร้างเสริมสุขภาพ
ป้องกันโรค
การให้บริการตรวจรักษาโรคเบื้องต้นและดูแลอย่างต่อเนื่อง (บริการแบบปฐมภูมิ)
การให้บริการฟื้นฟูสุขภาพของผู้รับบริการ
แนวคิดการพยาบาลโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน
เป็นการพยาบาลที่ให้การดูแลรักษาและฟื้นฟูสุขภาพแก่ผู้ป่วยที่อยู่นอกโรงพยาบาล เช่น บ้านของผู้ป่วย ซึ่งเป็นส่วนใหญ่
การเปลี่ยนเเปลงสถานที่ดูแลรักษาหรือฟื้นฟู เป็นผลมาจากนโยบายให้บริการเชิงรุกของรพ.ไปสู่ชุมชน เพื่อลดอัตราการครองเตียง ลดค่าใช้จ่ายระหว่างรักษาตัวที่รพ.
แนวคิด
การให้การบริกาาดูแลและการรักษาผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องในที่ที่ผู้ป่วยความคุ้นชิน
ครอบครัวเป็นผู้รับผิดชอบโดยตรงกับการตัดสินใจที่เกี่ยวกับการรักษาของผู้ป่วย
ปฏิบัติการพยาบาลโดยดูแลผู้ป่วยให้เป็นไปตามแผนการรักษาที่มีประสิทธิผลมากกว่าใช้เครื่องมือที่ความซับซ้อน
องค์ประกอบการพยาบาลโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน
การคุ้มครองผู้บริโภค
บทบาทหน้าที่การคุ้มครองผู้บริโภค
1.ตรวจสอบและแนะนำสถานที่ประกอบธุรกิจและกองทุนฯ
การเสริมสร้างพลังอำนาจชุมชน
เป็นกระบวนการทางสังคม การแสดงถึงการยอมรับ การส่งเสริม การพัฒนาและเสริมสร้างความสามารถของบุคคลในการตอบสนองความต้องการของตนเองและแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นว่าสามารถควบคุมความเป็นอยู่ของตนเองได้
บทบาทพยาบาลและการประยุกต์ใช้แนวคิดการสร้างเสริมพลังอำนาจในบุคคลครอบครัวและชุมชน
ผู้ให้ความรู้ การสอนด้านสุขภาพและการปฏิบัติตัวให้ถูกต้อง
ผู้พิทักษ์ผลประโยชน์ เน้นการส่งเสริมและดูแลให้บุคคลและชุมชนใช่สิทธิที่มีอยู่
ผู้ให้คำปรึกษา การให้คำแนะนำเพื่อส่งเสริม ป้องกันปัญหาสุขภาพ การดูแลสุขภาพ
ผู้ประสานงาน
ผู้บริหารจัดการ การบริหารจัดการที่ดีจะทำให้ดำเนินงานได้ดี
ผู้นำการเปลี่ยนแปลง เป็นผู้พัฒนาและปรับปรุงบริการสุขภาพให้เหมาะสมกับวิถีชีวิต บริบทชุมชน กล้าคิดนอกกรอบ
ผู้ให้บริการสุขภาพ ให้บริการตามขอบเขตอย่างครบถ้วน แบบผสมผสานและต่อเนื่อง
ผู้เอื้ออำนวยความสะดวก เช่น ประสานความมือทุกภาคส่วน
ผู้วิจัย ทำให้เกิดองค์ความรู้มหม่และพัฒนา
ผู้สร้างเสริมพลังอำนาจทางสุขภาพ ทางด้านพลังใจให้ตระหนักรู้ความอันตรายของโรค และเห็นความสำคัญของสุขภาพ หันกลับมาดูแลตนเอง
นิยามคำว่า ระบบสุขภาพ ไว้ว่าระบบความสัมพันธ์ทั้งมวลที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ
นิยามคำว่า บริการสุขภาพ ไว้ว่าบริการต่างๆ อันเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันและควบคุมโรคและปัจจัยที่คุกคามสุขภาพ การตรวจวินิจฉัยและบำบัดสภาวะความเจ็บป่วยและการฟื้นฟูสมรรถภาพของบุคคล ครอบครัวและชุมชน
1.4 การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
2.1 พัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ
2.2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
2.3 ศูนย์ความเป็นเลิศการแพทย์
2.4 ศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติและเขตเศรษฐกิจพิเศษ
3.1 วางแผนและความต้องการอัตรากำลังคน
3.2 ผลิตและพัฒนาคน
3.3 พัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารจัดกำลังคนด้านสุขภาพ
3.4 พัฒนาเครือข่ายภาคปชชและประชาสังคมด้านสุขภาพ
4.1 ระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ
4.2 ระบบหลักประกันสุขภาพ
4.3 ความมั่นคงด้านยาและเวชภัณฑ์ และการคุ้มครองผู้บริโภค
4.4 ระบบธรรมาภิบาล
เกิดการรับรู้เกี่ยวกับปัญหาและสาเหตุ
แสวงหา พัฒนาเทคโนโลยี สร้างมาตราฐานในการแก้ไขปัญหา
ดำเนินการแก้ไขปัญหาโดยใช้มาตราฐานสาธารณสุข กฏหมาย กฏระเบียบ นโยบายสาธารณะ การบริการสาธารณะต่างๆ
กระจายความรู้
เกณฑ์มาตรฐานพื้นที่ใช้สอยอาคาร โรงพยาบาลศูนย์ ตติยภูมิ ระดับ A ( Advance - Level Referral Hospital) ขนาด ๘๐๐-๑,๒๐๐ เตียง
เกณฑ์มาตรฐานพื้นที่ใช้สอยอาคาร โรงพยาบาลศูนย์ ตติยภูมิ ระดับ A ( Advance - Level Referral Hospital) ขนาด ๕๐๐-๘๐๐ เตียง
เกณฑ์มาตรฐานพื้นที่ใช้สอยอาคาร โรงพยาบาลทั่วไป ตติยภูมิ ระดับ S (Standard - Level Referral Hospital) ขนาด ๓๐๐-๕๐๐ เตียง
เกณฑ์มาตรฐานพื้นที่ใช้สอยอาคาร โรงพยาบาลทั่วไปขนาดเล็ก ตติยภูมิ ระดับ M1 (Mid - Level Referral Hospital) ขนาด ๑๘๐-๓๐๐ เตียง
เกณฑ์มาตรฐานพื้นที่ใช้สอยอาคาร โรงพยาบาลชุมชนขนาดใหญ่ ทุติยภูมิ ระดับ F1 (First - Level Referral Hospital) ขนาด ๙๐-๑๒๐ เตียง
เกณฑ์มาตรฐานพื้นที่ใช้สอยอาคาร โรงพยาบาลชุมชนขนาดกลาง ทุติยภูมิ ระดับ F2 (First - Level Referral Hospital) ขนาด ๖๐-๙๐ เตียง
เกณฑ์มาตรฐานพื้นที่ใช้สอยอาคาร โรงพยาบาลชุมชนขนาดเล็ก ทุติยภูมิ ระดับ F3 (First - Level Referral Hospital) ขนาด ๓๐-๖๐ เตียง
การให้บริการแบบผสมผสาน
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกัน การรักษา การฟื้นฟูสภาพ และการคุ้มครองผู้บริโภค ให้สอดคล้องกลมกลืน
การให้บริการที่มีความต่อเนื่อง
เป็นการดูแล คนไม่ใช่โรค
เป็นการดูแลอย่างเนื่อง จากโรงพยาบาลสู้บ้าน
ส่งเสริมสนับสนุนให้บุคคลและครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแลตนเองและพึ่งพาตนเองได้มากที่สุด
เน้นการทำงานร่วมกันในลักษณะสหสาขาวิชาชีพ
สนับสนุนและส่งเสริมให้ประชาชนใช้ทางเลือกอื่นๆ ในการดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสม เช่น แพทย์ทางเลือก
การบริการพยาบาลที่มีคุณภาพ
มีการบริการที่สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการด้านสุขภาพของผู้รับบริการ
ให้บริการที่ต่อเนื่องและครอบคลุมแก่ครอบครัว
ต้องมีการมีส่วนร่วมของบุคคล ครอบครัว กลุ่มบุคคลหรือชุมชน ในการตัดสินใจ วางแผน ดำเนินการและประเมินผล
ประสานงานกับหน่วยงานอื่นในชุมชน
ริเริ่มดำเนินการ และให้ความร่วมมือในการวิจัย และนำผลวิจัยมาใช้ในชุมชนและบริการด้านสุขภาพ
มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ มีวินัยในตนเอง
สามารถคิดวิเคราะห์และใช้วิจารณญาณทางคลินิกได้
มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ โต้แย้งด้วยเหตุผล
มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีและลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพของตนเอง
มีพฤติกรรมลริการที่แสดงออกถึงความเต็มใจ กระตือรือร้นในการบริการ
มีความไวทางวัฒนธรรม และแสดงออกอย่างเหมาะสม
ตระหนักในสิทธิและหน้าที่ในการปฏิบัติงาน
แสวงหาโอกาสพัฒนาตนเองที่หลากหลายและต่อเนื่อง
ศึกษาหาความรู้ในการปฏิบัติการพยาบาลและนำความรู้มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนางาน
เป็นสมาชิกองค์กรวิชาชีพ สนับสนุนให้ความร่วมมือและร่วมกิจกรรม
รักษาประโยชน์ของส่วนรวม องค์กร และวิชาชีพการปฏิบัติงาน
ให้ความร่วมมือในการดำเนินวิจัยแต่ต้องไม่ละเมิดสิทธิของผู้ถูกวิจัยและคำนึงถึงจรรยาบรรณนักวิจัย
สามารถประยุกต์ใช้กระบวนการวิจัยในการแสวงหาความรู้
สามารถอ่านข้อมูล ความรู้ทางวิชาการและสรุปประเด็นสำคัญได้
สามารถเขียนเอกสารทางวิชาได้ถูกต้อง ตามหลักวิชาและการอ้างอิงที่เป็นสากล
สามารถให้ข้อมูลข่าวสาร ความรู้ทางการพยาบาลและสุขภาพ โดยเลือกใช้ถ้อยคำ ภาษาและสื่อที่เหมาะสม
มีทักษะในการสื่อสารเชิงวิชาชีพ รวมทั้งการให้คำปรึกษาและสร้างบรรยากาศให้เกิดความน่าเชื่อถือ
เน้นหนักด้านสุขภาพมากกว่าด้านเจ็บป่วย การส่งเสริมและป้องกัน 3 ระดับ คือ การป้องกันระดับแรก,สอง,สาม
เน้นการตัดสินใจโดยอิสระ
ใช้กระบวนการพยาบาลแก้ปัญหา
เน้นประสานความร่วมกับเจ้าหน้าที่สาขาต่างๆ
เน้นการมึส่วนร่วมของชุมชน
การป้องกันระดับแรก การส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค
ได้แก่ คลีนิกก่อนคลอด คลีนิดวางแผนครอบครัว การให้สุขศึกษาสำหรับการส่งเสริมสุขภาพ และลดปัจจัยเสี่ยงต่างๆ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
การป้องกันระดับสอง
การป้องกันในระยะที่เริ่มเป็นโรคแล้วหรือมีอาการของโรคเกิดขึ้น
การป้องกันระดับสาม
การให้คนในชุมชนมีสุขภาพดีโดยป้องกันไม่ให้เกิดโรคซ้ำอีกรวมถึงการช่วยฟื้นฟูสภาพของผู้ป่วยให้กลับคืนสภาพปกติมากที่สุด
การดูแลตนเอง
การดูแลด้านป้องกัน
การดูแลและให้การพยาบาลอย่างต่อเนื่อง
การประสานความร่วมมือ
ประเมินความเสี่ยงต่ออันตรายของผลิตภัณฑ์และบริการ
ประเมินความเสี่ยงต่ออันตรายที่เกี่ยวกับคุณค่าของประโยชน์ที่จะได้รับจากการบริโภคผลิตภัณฑ์และบริการ
การบริหารจัดการความเสี่ยง
การสื่อสารข้อมูลความเสี่ย
2.ตรวจสอบฉลากของผลิตภัณฑ์
ประชุมชี้แจง / อบรม / องค์กร / ผู้นำในหมู่บ้านทุก หมู่บ้านเรื่องงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขใน ระดับต่างๆและเสริมหลักสูตรทางวิชาการเข้าไปในการ อบรมต่างๆ
4.อบรมกองทุนยา
เผยแพร่ข่าวสารความรู้ผ่านสื่อต่างๆ
เมื่อพบปัญหาเกี่ยวกับงานคุ้มครองผู้บริโภคด้าน สาธารณสุขให้ดำเนินการแก้ไขโดยแนะนำตักเตือนและ รายงานให้อำเภอจังหวัดทราบเพื่อดำเนินการต่อไป
สรุป
แนวคิดเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพชุมชน มีส่วนสำคัญคือ
การพยาบาลชุมชนเป็นฐาน
การคุ้มครองผู้บริโภค
การสร้างเสริมพลังอำนาจของชุมชน
ส่งผลให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการงริการสุขภาพแก่ปชช
น.ส.ญานิกา เตชะมโนรมย์ เลขที่ 022 ห้อง 2B รหัสนักศึกษา 64123301045