Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การฟื้นฟูสุขภาพผู้ป่วย : ผู้สูงอายุ, เอกสารอ้างอิง ศิริพันธุ์ สาสัตย์.…
การฟื้นฟูสุขภาพผู้ป่วย : ผู้สูงอายุ
เป็นกระบงนการในการปรับตัวหรือการฟื้นคืนสภาพของบุคคลจากภาวะทุพพลภาพ จากความสามารถในการทำหน้าที่ที่จำกัด พยายามในการกลับสู่สภาพเดิม การทำหน้าที่สูงสุด ไม่มีภาวะพึ่งพาแลการธำรงรักษาอาการ
หลักการฟื้นฟูสภาพผู้สูงอายุ
1.ความหลากหลายของผู้สูงอายุ
2.การไร้ความสามารถ
3.เป้าหมายสูงสุดของภาวะสุขภาพ
ปัจจัยด้านอุปสรรคการฟิ้นฟูในผู้สูงอายุ
ด้านร่างกาย
พักผ่อนไม่เพียงพอ
ถาวะทุพโภชนาการ
การควบคุมอุณหภูมิ
ด้านจิตใจ
ภาวะซึมเศร้า
ความเชื่อ
ความบกพร่องด้านสติปัญญา
ด้านเศรฐกิจ
ความยากจน
ด้านสิ่งแวดล้อม
สภาพบ้านที่ไม่เอื้ออำนวย
เกณฑ์การพิจารณาการฟื้นฟูสภาพ
การมรสัญญาณชีพและอาการแสดงของระบบประสาที่ปกติ
สามารถทำตามคำสั่งได้ 2-3 อย่าง
เรียนรู้และจดจำสิ่งที่เรียนได้ใน 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา
มีแรงจูงใจและความอยากหายจากความเจ็บป่วย
Sarcopenia
เกณฑ์การวินิจฉัย
การวัดมวลกล้ามเนื้อ รังสีเทคนิค
ㆍcomputed tomographic scanning
ㆍmagnetic resonance imaging
・dual-energy X-ray absorptiometry (DXA)
ㆍbioimpedance analysis (BIA)
การวัดความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
ㆍการวัดแรงเหยียดเข่า (leg extension) โดยวิธีknee extension
ㆍ การลุกขึ้นยืนจากเก้าอี้ (chair stand)
ㆍการวัดแรงบีบมือ (handgrip strength)
การวัดสมรรถภาพทางกาย
การประเมินความสามารถทางกายฉบับย่อ (Short physical performance battery : SPPB)
การวัดความเร็วในการเดิน
การทดสอบความสามารถในการทรงตัว ขณะเดิน ความคล่องแคล่วและการทรงตัวเมื่อมีการเคลื่อนไหว
การประเมินมวลกล้ามเนื้อ
ㆍ การตรวจมวลกล้ามเนื้อ เช่น CT
ㆍการวัดความเข็งแรงของกล้ามเนื้อ เช่น Hand grip
strength,knee flexion/ extension,Peak
expiratory flow
การสูญเสียมวลของกล้ามเนื้อและความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
ชนิดปฐมภูมิ : สัมพันธ์กับอายุ
ชนิดทุติยภูมิ : สัมพันธ์กับสาเหตุอื่น
การฟื้นฟู
การประเมินและคัดกรองกลุ่มเสี่ยงภาวะมวล
กล้ามเนื้อน้อย
2.การส่งเสริมการทำกิจกรรมทางกายและการออกกำลังกาย
3.การส่งเสริมภาวะโภชนาการ
4.การลด/งดสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอร์
Osteoarthritis
ภาวะที่ปริมาณเนื้อกระดูกลดลง และมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างภายในของ
กระดูก ทำให้ความแข็งแรงของกระดูกลดลงเกิดกระดูกหักได้ง่ายขึ้น
การวินิจฉัย(FRAX*)
และแนะนำให้ตรวจความหนาแน่นของ
กระดูก (BMD)
การฟื้นฟู
ㆍ ลดน้ำหนักตัว
ㆍพักการใช้ข้อ
ㆍหลีกเลี่ยงการใช้ข้อมากเกินไป
ㆍการบริหารกล้ามเนื้อ
Isometric exercise
ㆍ ควรถือไม้เท้าข้างที่ดี
Osteoporosis
ควรรับประทานอาหารที่มีแคลเซียมสูง
นม โยเกิร์ต เนยแข็ง ไอศรีม
ปลาหรือเนื้อสัตว์ที่ทานได้ทั้งกระดูก
าหารประเภทถั่ว เช่น เด้าหู้ นมถัว
เหลือง ถั่วเมล็ดแห้ง งา สาหร่ายทะเล
เต้าหู้ก้อน
ผักใบเขียวเข้ม คะน้า ผักกาด บรอคโคลี่ มะเขือพวง ผักบ็อกล่อย
การออกกำลังกาย
การเดิน ออกกำลังกายแบบ weight beraing exercise
Isometric exercise
Hypertention
การป้องกันระดับปฐมภูมิ เน้นค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ โดย คัดกรอง
การป้องกันระดับทุติยภูมิ เน้นการติดตามกลุ่มเสี่ยงไม่ให้ เป็นโรคความดันโลหิตสูง
การป้องกันระดับตติยภูมิ เน้นการรักษาทันทีเมื่อได้รับ การวินิจฉัยว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูง
การดูแลผูสูงอายุ
ดูแลให้รับประทานยาสม่ำเสมอตรงเวลา
กระตุ้นให้ปรับพฤติกรรมให้เหมาะสม
DM
การควบคุมอาหาร การลดน้ำหนัก (ถ้าอ้วน) และการออก กำลังกาย
ผู้ป่วยควรเลิกสูบบุหรี่โดยเด็ดขาด
ผู้ป่วยควรหมั่นดูแลรักษาเท้าเป็นพิเศษ
ผู้ป่วยควรหมั่นตรวจปีสสาวะเอง และตรวจเลือดที่ โรงพยาบาลเป็นประจำ
ผู้ป่วยห้ามซื้อยาชุดกินเอง เพราะยาบางอย่างอาจเพิ่มน้ำตาในเลือดได้
ผู้ป่วยควรมีบัตรประจำตัว
Circulatory disorder
การดูแล
บรรเทาอาการเจ็บหน้าอก
ลดความวิตกกังวลและความกลัว
ลดความต้องการออกซิเจน
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
Infection
การติดเชื้อในผู้สูงอายุ
มีความเจ็บป่วยทางร่างกายหลายอย่าง ทำให้ที่ความต้านทานโรคต่ำ
การทำงานของอวัยวะต่างๆ ไม่ดีเหมือนเดิม
ภูมิคุ้มกันลดลง
อาจต้องได้รับยาที่ทำให้ภูมิคุ้มกันลดลง
การตรวจ การรักษาหลายอย่างที่ผู้สูงอายุได้รับอาจทำให้เกิดการติดเชื้อได้
มีโอกาสต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลได้มาก
ทำให้เกิดการติดเชื้อของโรงพยาบาลได้ และมักเป็นเชื้อโรคที่ดื้อยา
parkinson
เป้าหมายการฟื้นฟู
ผู้ป่วยเดินและเคลื่อนไหวดีขึ้น
การ ทรงตัวดีขึ้น ลดความเสี่ยงในการล้ม
ประกอบกิจวัตร ประจำวันได้มากขึ้น
กลืนอาหารได้ดีขึ้น
เปล่งเสียง พูดได้ดี
ช่วยด้านจิตใจ ให้มีคุณภาพชีวิตดีขึ้น
Dementia,Delirium
จัดวางข้าวของเครื่องใช้ให้มั่นคงปลอดภัย และเป็นที่คุ้นเคย , หาสิ่งกระตุ้นความทรงจำ , ปรับแสงให้สว่างพอในตอนเย็น , ดูแลสุขวิทยาท, ยอมรับพฤติกรรม , เบี่ยงเบนความสนใจ , ไม่ให้อาหารหนักในมื้อเย็น ,
Depression
ผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าระดับน้อย การช่วยเหลือทำได้ตั้งแต่การให้การปรึกษาราย
บุคคลและรายกลุ่ม
ผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าระดับปานกลางการช่วยเหลือทำได้โดยการให้
การปรึกษา การทำกลุ่มบำบัดในรูปแบบต่าง ๆ
ผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าระดับรุนแรง ควรสังเกตอย่างใกล้ชิด ประเมินซ้ำและ
ระมัดระวังการทำร้ายตนเองหรือฆ่าตัวตาย
Dyslipidemia
ไม่นั่งไขว่ห้าง หรือนั่งท่าเดิมนานๆ
รักษาความอบอุ่นของร่างกาย ห้ามนำกระเป๋าน้ำร้อนไปวาง
หมั่นดูแลเท้า
ออกกำลังกาย การบริการกล้ามเนื้อ
แนะนำให้เริ่มฝึกเมื่อผู้ป่วยขยับกล้ามเนื้อปาก และยกคอหอยขึ้นในการกลืนน้ำลาย
เอกสารอ้างอิง
ศิริพันธุ์ สาสัตย์. (2563). การพยาบาลผู้สูงอายุ : ปัญหาที่พบบ่อยและแนวทางในการดูแล. พิมพ์ครั้งที่ 4
กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ศิรัรัตน์ ปานอุทัย ทศพร คำผลศิริ และณัฐธยาน์ สุวรรณคฤหาสน์. (2560). การพยาบาลผู้สูงอายุเล่ม 1. พิมพ์
ครั้งที่ 1. เชียงใหม่ : โครงการตำรา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเซียงใหม่.