Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Immune Thrombocytopenia ภาวะเกล็ดเลือดต่ำ - Coggle Diagram
Immune Thrombocytopenia
ภาวะเกล็ดเลือดต่ำ
การวิเคราะห์/การให้เหตุผล
พยาธิสภาพ
อาการและอาการแสดง
มีเลือดออกง่ายและห้ามเลือดได้ยากกว่าปกติ มักพบตามเยื่อบุต่าง ๆ เช่น เลือดออกตามไรฟัน เลือดกำเดา รวมทั้งมีจุดจ้ำเลือดใต้ชั้นผิวหนังหรือรอยฟกช้ำตื้น ๆ แม้ไม่มีการกระแทก
สาเหตุของภาวะเกล็ดเลือดต่ำ
ภาวะเกล็ดเลือดต่ำ สาเหตุเกิดจาก 3 สาเหตุหลัก ได้แก่ 1. ไขกระดูกสร้างเกล็ดเลือดได้น้อยลง 2. การที่เกล็ดเลือดถูกทำลายมากกว่าปกติ เช่น ภาวะที่ร่างกายสร้างแอนติบอดี้ต่อเกล็ดเลือด ทำให้เกล็ดเลือดโดนทำลายมากขึ้น 3. เกิดจากกรณีที่คนไข้มีภาวะโรคตับ ทำให้มีม้ามโต เกล็ดเลือดส่วนหนึ่งจึงเข้าไปอยู่ในม้าม เมื่อเจาะเลือดจะพบว่ามีระดับเกล็ดเลือดต่ำลงได้
หน้าที่ของเกล็ดเลือด
มีหน้าที่ช่วยทำให้เลือดหยุดไหลในกรณีที่มีบาดแผลหรือมีภาวะเลือดออก
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล ข้อที่ 2
ผู้ป่วยมีภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากมีภาวะซีด
ข้อมูลสนับสนุน
เป้าหมายทางการพยาบาล
เกณฑ์การประเมินผล
กิจกรรมการพยาบาล
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล ข้อที่ 1
เสี่ยงต่อการมีเลือดออกง่าย เนื่องจากกลไกลการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ จากเกล็ดเลือดตํ่า
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วย มีผื่นจ้ำเลือดตามตัว มีเลือดออกตามไรฟันและเหงือก ปัสสาวะเป็นสีโค๊ก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
วันที่ 06/01/2566 Platelet Count 1*10^3 /uL ต่ำกว่าค่าปกติ
APTT 22.8 sec ต่ำกว่าค่าปกติ
วันที่ 08/01/2566 Platelet Count 3
10^3 /uL ต่ำกว่าค่าปกติ
วันที่ 09/01/2566 Platelet Count 2
10^3 /uL ต่ำกว่าค่าปกติ
เป้าหมายทางการพยาบาล
เพื่อป้องกันไม่ให้มีภาวะเลือดออก
เกณฑ์การประเมิน
1.ไม่มีเลือดออกในทางเดินปัสสาวะ คือ ลักษณะปกติ สีเหลืองใส ตรวจทางห้องปฏิบัติการไม่พบเม็ดเลือดแดงในปัสสาวะ
2.สัญญาณชีพอยู่ในค่าปกติ
Platelet Count อยู่ในช่วง 140,000 - 400,000 /uL APTT อยู่ในช่วง 23 - 34 sec
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินภาวะเลือดออก ประเมินสัญญาณชีพ
2.ดูแลให้พักผ่อน หลีกเลี่ยงการกระทบกระแทก
3.หลีกเลี่ยงอาหารที่ต้องเคี้ยว ฉีก
4.มีการวางแผนการเจาะเลือดผู้ป่วยและสอนให้ผู้ป่วยสังเกตอาการเลือดออกผิดปกติ
5.ติดตามและประเมินผลการตรวจเลือด
ติดตามค่า Hematocrit และเกร็ดเลือดเป็นระยะ ๆ เพื่อประเมินแนวโน้มการมีเลือดออก
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล ข้อที่ 3
ผู้ป่วยมีภาวะ Electrolyte imbalance
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ชักเกร็ง กระตุก ใจสั่น
ค่า Sodium(Na) = 135 mmol/L ค่าต่ำกว่าปกติ
ค่าปกติอยู่ระหว่าง 136 - 145 mmol/L
ค่า Potassium(K) = 3.41 mmol/L ค่าต่ำกว่าปกติ
ค่าปกติอยู่ระหว่าง 3.5 - 5.1 mmol/L
เกณฑ์การประเมินผล
เพื่อดำรงไว้ซึ่งความสมดุลของการครองธาตุในร่างกาย
กิจกรรมการพยาบาล
สังเกตภาวะขาดน้ำและอิเล็กโทรไลต์ เช่น ผิวหนังแห้ง ปัสสาวะน้อย ซึม เป็นต้น เพราะจะช่วยในการประเมินระดับความรุนแรงของภาวะขาดน้ำได้
ดูแลให้ได้รับสารน้ำตามการรักษาของแพทย์ ช่วยทดแทนน้ำและเกลือแร่ที่สูญเสียไป
ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะอิเล็กโทรไลต์ไม่สมดุล คือ หัวใจเต้นเร็วหรือช้าผิดปกติ คลื่นไส้ อาเจียน อ่อนเพลีย กล้ามเนื้ออ่อนแรง ชาปลายมือและปลายเท้า หายใจลำบาก
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษาของแพทย์ เพื่อเพิ่มระดับความสมดุลของอิเล็กโทรไลต์
บันทึกปริมาณสารน้ำเข้าออก และปริมาณของน้ำปัสสาวะ เพราะเป็นการประเมินการสมดุลของน้ำเข้าออกของร่างกายและถ้าปัสสาวะออกน้อยอาจแสดงถึงภาวะขาดน้ำได้
ติดตามผล Lab ค่า Electrolyte รายงานแพทย์เมื่อพบความผิดปกติ เพราะค่า Na และ K เป็นค่าที่บ่งบอกถึงเกลือแร่ภายในร่างกายและช่วยให้การประเมินระดับความรุนแรงของภาวะขาดน้ำและอิเล็กโทรไลต์ได้
เป้าหมายทางการพยาบาล
ผู้ป่วยไม่มีแขน ขาชักเกร็ง กระตุก ใจสั่น คลื่นไส้อาเจียน
ค่า Sodium(Na) อยู่ระหว่าง 136 - 145 mmol/L
ค่า Potassium(K) อยู่ระหว่าง 3.5 - 5.1 mmol/L
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล ข้อที่ 6
ผู้ป่วยและญาติมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการดำเนินของโรค
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยมีความวิตกกังวลเมื่อพบจุดจ้ำเลือดขึ้นตามร่างกายจำนวนมาก และรู้สึกเครียดเมื่อปัสสาวะปนเลือด
ญาติมีสีหน้าวิตกกังวลเกี่ยวกับอาการของผู้ป่วย
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินระดับความวิตกกังวลของผู้ป่วยและญาติโดยใช้แบบประเมินความวิตกกังวล
ประเมินการรับรู้ของผู้ป่วยเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยและญาติระบายความรู้สึก และสิ่งที่คับข้องใจ
อธิบายแผนการรักษาของแพทย์ ได้แก่ การสังเกตอาการคลื่นไส้ อาเจียน บริเวณที่เลือดออกตามไรฟัน ลักษณะของจุดจ้ำเลือด สีและปริมาณของปัสสาวะ การเจาะเลือดเพื่อส่งผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ เป็นต้น เพื่อให้ผู้ป่วยเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินของโรคและแนวทางการรักษาของแพทย์และพยาบาล
ประสานงานกับพี่พยาบาลบนหอผู้ป่วย แพทย์เจ้าของไข้ทีมแพทย์ในการแจ้งอาการให้ผู้ป่วยและญาติทราบอาการและการดำเนินของโรค ตลอดจนแนวทางการรักษาของผู้ป่วย การช่วยให้กำลังใจผู้ป่วย
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยคลายความวิตกกังวลพูดคุยมากขึ้น ผู้ป่วยมีสีหน้าสดชื่น
ผู้ป่วยสามารถตัดสินใจเกี่ยวกับการรักษาได้
ผู้ป่วยให้ความร่วมมือตามแผนการรักษาของแพทย์และการทำกิจกรรมการพยาบาล
เป้าหมายทางการพยาบาล
ลดความวิตกกังวลแก่ผู้ป่วยและญาติ
เพื่อให้ผู้ป่วยและญาติรับทราบอาการเบื้องต้นและให้ความร่วมมือในการรักษา
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล ข้อที่ 4
ป้องกันผู้ป่วยจากอุบัติเหตุ ไม่ให้ผู้ป่วยเกิดบาดแผล
เป้าหมายการพยาบาล
เกณฑ์การประเมินผล
ข้อมูลสนับสนุน
กิจกรรมการพยาบาล
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล ข้อที่ 5
เสี่ยงต่อการเกิดบาดแผลในกระเพาะอาหารเนื่องจากมีอาการท้องผูก
เกณฑ์การประเมินผล
กิจกรรมการพยาบาล
ข้อมูลสนับสนุน
เป้าหมายการพยาบาล
การรักษา
DEXASONE 4 MG.TAB.
DEXAMETHASONE 4 MG. TAB.
รับประทานครั้งละ 10 เม็ด วันละ 1 ครั้ง หลังอาหาร เช้า * 4 วัน
Group
Glucocorticoid
Side effects
ภาวะกระสับกระส่าย นอนไม่หลับ อาการเวียนศีรษะ
เหตุผลการใช้ยา
Glucocorticoid
OMEPRAZOLE CAPSULES 20 MG. (GPO)
OMEPRAZOLE 20 MG. CAP.
Group
proton pump inhibitor
Side effect
Omeprazole เป็นยาที่ค่อนข้างปลอดภัย ผลข้างเคียงน้อย ซึ่งผลข้างเคียงที่พบได้ทั่วไป เช่น อาการปวดศีรษะ เวียนศีรษะ ปวดท้อง อาหารไม่ย่อย ท้องอืด ท้องผูก ท้องเสีย คลื่นไส้ อาเจียน
เหตุผลการใช้ยา
เพื่อป้องกันเลือดออกในกระเพาะอาหาร
การตรวจร่างกาย
การประเมินสภาพร่างกาย
มีจุดจ้ำเลือดบริเวณแขน ขา หน้าท้อง
ตรวจ lymph node มีต่อมน้ำเหลืองโตบริเวณ
ตรวจ conjuntiva พบว่ามีภาวะซีด
มีเลือดออกตามไรฟัน
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เคมีคลินิก
วันที่ 06/01/2566
Lactate (Lactic acid) 2.3 mmol/L ค่าสูงกว่าปกติ
ค่าปกติ 0.5 - 2.2 mmol/L
CPK 869 U/L ค่าสูงกว่าปกติ
ค่าปกติ 30 - 200 U/L
Total Bilirubin 1.46mg/dL ค่าสูงกว่าปกติ
ค่าปกติ 0.2 - 1.2mg/dL
AST(SGOT) 43 U/L ค่าสูงกว่าปกติ
ค่าปกติ 5.0 - 34.0 U/L
Sodium(Na) 135 mmol/L ค่าต่ำกว่าปกติ
ค่าปกติ 136 - 145 mmol/L
Potassium K 3.41 mmol/L ค่าต่ำกว่าปกติ
ค่าปกติ 3.5 - 5.1 mmol/L
LDH 524 U/L
ค่าปกติ 125-220U/L
โลหิตวิทยา
วันที่ 06/01/2566
APTT 22.8 sec. ค่าต่ำกว่าปกติ
ค่าปกติ 24.6-31.8 sec.
Hemoglobin(Hb) 8.0 g/dL ค่าต่ำกว่าปกติ
ค่าปกติ 12.8-16.1g/dL
Hematocrit
(Hct) 24.2 % ค่าต่ำกว่าปกติ
ค่าปกติ 38.2-48.3%
Red blood cell count 2.65 10^6/uL ค่าต่ำกว่าปกติ
ค่าปกติ 4.03-10.77 10^6/uL
Neutrophil 73.4 % ค่าสูงกว่าปกติ
ค่าปกติ 48.2-71.2
%
Platelet Count 1 10^3/uL ค่าต่ำกว่าปกติ (ค่าวิกฤต)
ค่าปกติ 154-384 10^3/uL
วันที่08/01/2566
Hemoglobin(Hb) 8.1 g/dL ค่าต่ำกว่าปกติ
ค่าปกติ 12.8-16.1g/dL
Hematocrit(Hct) 24.9% ค่าต่ำกว่าปกติ
ค่าปกติ 38.2-48.3%
Red blood cell count 2.72 10^6/uL ค่าต่ำกว่าปกติ
ค่าปกติ 4.03-10.77 10^6/uL
Neutrophil 90.0 % ค่าสูงกว่าปกติ
ค่าปกติ 48.2-71.2 %
Platelet Count 3 10^3/uL ค่าต่ำกว่าปกติ (ค่าวิกฤต)
ค่าปกติ 154-384 10^3/uL
Problem list
การรวบรวมข้อมูล
General Appearance
อาการแรกรับ
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
อาการสำคัญ
ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน
การวินิจฉัยโรคแรกรับ