Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มีภาวะผิดปกติ ทางระบบประสาท - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มีภาวะผิดปกติ
ทางระบบประสาท
โรคสมองอักเสบ ( Encephalitis )
เชื้อ : แบคทีเรีย, ไวรัส, เชื้อรา, protozoa
อาการแสดง
ไข้สูง ปวดศีรษะ ปวดต้นคอ อาเจียน หายใจไม่สม่ำเสมอ
ซึมลง ชัก
ถ้าสมองบวมมาก มีอาการชักบ่อย ม่านตาขยาย จอประสาทตาบวม
รู้สติของผู้ป่วยเด็กมีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว
การประเมินอาการ
อาการสำคัญ
ระดับความรู้สึกตัว (Level of concious)
ซึม ( stuporous )- มีอการซึมลง จะหลับเป็นส่วนใหญ่ ปลุกไม่ค่อยตื่น แต่ยังสามารถตอบสนองต่อความเจ็บปวดได้
ใกล้หมดสติ ( semicoma )- หลับตลอดเวลา ตอบสนองต่อความเจ็บปวดไม่มีจุดหมาย
ง่วง ( drowsy ) – มีความรู้สึกตัวเล็กน้อย ปลุกจะตื่นและตอบคําถามได้
หมดสติ ( coma ) –ไม่รู้สึกตัว ไม่ตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น
รู้สึกตัวดี ( alert ) – ทําตามคําสั่งได้ถูกต้อง รู้จักตัวเองและสิ่งแวดล้อมได้ดี
(สถานที่ เวลา)
Glasgow Coma Score
การสื่อภาษา (Verbal Response) : ๕ คะแนน
การลืมตา (Eye Opening) : ๔ คะแนน
การตอบสนองต่อการเคลื่อนไหว (Motor Response) : ๖ คะแนน
ปฏิกิริยารูม่านตาต่อแสง
(หดลงขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ๒-๓ มิลลิเมตร)
ปฏิกิริยาต่อแสง (React to light)
ปฏิกิริยาช้า (Sluggish)
ไม่หดตัวเลย (No reaction to light)
ปฏิกิริยาการเคลื่อนไหว (Motor power)
การเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพ
PR = เต้นแรงช่วงแรก
เต้นช้าช่วงหลัง
BP = แรกสูง—>ลดลง
PR กว้างกว่า 40 mmHg
BT= Hypothalamus ได้รับอันตราย BTอาจสูงหรือต่ำได้
การหายใจ = ช้าลง-หยุดหายใจเป็นพักๆ
การตรวจประเมินอื่นๆ
CT, MRI , X-ray
โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ ( Meningitis )
เชื้อ : แบคทีเรีย, ไวรัส, เชื้อรา, พยาธิ
สาเหตุ
หูชั้นกลางอักเสบ
ไซนัสอักเสบ
ติดเชื้อทางเดินหายใจ
SLE
Covid-19
TB
บาดเจ็บท่ีศีรษะ(รอยแตก)
ได้รับ steroid, chemotherapy
อาการแสดง
คอแข็ง, Kernig’s sign, Brudzinski’s sign
ตามัว
ความดันสมองเพิ่ม
ไข้ ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน สับสน ซึม ไวต่อการ
กระตุ้น กลัวแสง
ชัก
การตรวจ
CSH น้ำไขสันหลัง
CBC, Hemoculture
กลุ่มอาการชัก ( Convulsion )
โรคลมชัก (Epilepsy)
สาเหตุ
มีรอยโรคในเนื้อสมอง เกิดจากพันธุกรรม
ภาวะแทรกซ้อนจากการติดเชื้อในสมอง
เยื่อหุ้มสมอง
การรักษา
หยุดอาการชัก ให้ยากันชัก
ผู้ป่วยพ้นอันตรายและป้องกันอันตราย ากการ
หาสาเหตุและแก่ไขตามสาเหตุหรือการผ่าตัดเอารอยโรคท่ีสมองออก
ชักจากไข้สูง(FebrileConvulsion)
พบในเด็กอายุ ๖ เดือน ถึง ๕ ปี
สาเหตุ
กระเพาะอาหารลําไส้อักเสบ
ต่อมทอลซิลอักเสบ
หูชั้นกลางอักเสบ
การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ
การติดเชื้อในระบบหายใจ
ติดเชื้อ Virus
Simple febrile convulsion
ก่อน
ระบบประสาทและพัฒนาการมีลักษณะปกติ
หลัง
ไม่พบความผิดปกติ
ขณะ
ชักระยะสั้น ๆ ไม่เกิน ๑๕ นาที
ชักทั้งตัว
Complex febrile convulsion
ขณะ
ชักนานกว่า ๑๕ นาที
เฉพาะที่หรือทั้งตัว
ก่อน
ระบบประสาทและพัฒนาการมีลักษณะ ผิดปกติ เช่น มีสมองเล็ก
หลัง
พบมีความผิดปกติของระบบประสาท เช่น อัมพาตครึ่งซีก
อาการแสดง
ชักตัวแข็ง ชักเกร็ง ไม่รู้สึกตัว กล้ามเนื้อเหลว
ไข้สูงมาก ตัวร้อน หน้าแดง มึน สับสน
ควบคุมการขับปัสสาวะ/อุจจาระ ชักไม่เกิน 1 นาที
วินิจฉัย
ประวัติติดเชื้อ มีไข้
ตรวจร่างกาย
CBC เพาะเชื้อ ตรวจปัสสาวะ
เด็กมี Complexfebrileconvulsion แพทย์ตรวจ เพิ่มเติมโดยทํา CT scan,EDG,เจาะหลัง,น้ำไขสันหลัง
ยาที่ใช้บ่อยๆ
ชักจากไข้สูงครั้งแรกท่ีมีอายุน้อยกวเา ๑ ปี
Complex febrile convulsion
ความผิดปกติของระบบประสาทและพัฒนาการ เช่น สมองพิการ
ภาวะน้ําคั่งในสมอง ( Hydrocephalus )
สาเหตุ
การอุดตันของทางเดินนํ้าไขสันหลัง
การดูดซึมของนํ้าไขสันหลังผิดปกติ
การสร้างนํ้าไขสันหลังมากเกินไป
เลือดออกในน้ำไขสันหลัง
ตีบตันทางเดินนํ้าไขสันหลังแต่กําเนิด
การรักษา
การเจาะหลัง ไม่ควรทําในรายอุดตันของทางเดินน้ําไขสันหลัง
ผ่าตัดเปลี่ยนทางเดินน้ําไขสันหลัง(Shunting)ที่นิยมคือVP Shunt (ventriculo – peritoneal Shunt)
ช่องท้อง
ลดปริมาณของน้ําไขสันหลัง
อาการแสดง
หลอดเลือดดําบริเวณใบหน้าหรือศีรษะโป่งตึง เห็นชัด
ตา ๒ ข้างมองลงล่าง เรียก Setting-Sun Sign กลอกตาไม่ได้
ปวดศีรษะมาก, คลื่นไส้ อาเจียน, ชัก, ร้องเสียงแหลม, รู้สึกตัวลดลง, กล้ามเนื้อแขนขาอ่อนแรง พัฒนาการช้า
ตาพร่ามัว เห็นภาพซ้อน
ศีรษะโต
อาเจียนพุ่ง
ภาพ X-ray กะโหลกศีรษะมีการแยกของรอยประสาทของกระดูกกะโหลกศีรษะ
ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง ( Increase ICP )
สาเหตุ
Hydrocephalus
ติดเชื้อในสมอง
Brain tumor
เลือดออกในกะโหลกศีรษะ
รักษา
รักษาท่ีสาเหตุ
ลดความดันในสมองโดยใช้ยา, เจาะไขสันหลัง
สมองพิการ (Cerebral Palsy : CP)
บกพร่องทางสมองท่ีใช้ควบคุมกล้ามเนื้อ ทรงตัว ปัญญาอ่อนร่วม
อาการแสดง
Extrapyramidal cerebral palsy เคลื่อนไหวผิดปกติตลอดเวลาขณะตื่น
เดินเซ ล้มง่าย
กล้ามเนื้อหดเกร็ง (Spastic) ไม่สามารถควบคุมการเคลื่อนไหวของ
สาเหตุ
คลอด
สมองขาดออกซิเจน
หลัง
การกระทบกระเทือนท่ีศีรษะ ตัวเหลือง การติดเชื้อบริเวณสมอง การได้รับสารพิษ
ก่อน
การขาดอาหารในครรภ์ ชัก ได้รับอุบัติเหตุหรือติดเชื้อ คลอดก่อนกำหนด
รักษา
ทํากายภาพบําบัด
แก้ไขความผิดปกติของการรับรู้และประสาท
ให้ยาคลายกล้ามเนื้อ อาการเกร็งมาก
ให้คําแนะนําผู้ปกครองในการดูแลเด็กในชีวิตประจําวันและส่งเสริมฝึกทักษะของร่างกาย
Congenital anomalies
neurulation defect
neural tube ไม่ปิด
Anencephaly
Myelomeningocele
post neurulation defect
neural tube ปิด
Encephalocele
Spina dysraphism
Encephalomeningoceles
รักษา
ผ่าตัดปิดรูในโพรงกระโหลก
Spinal dysraphism
Spina bifida occulta
Myelomeningocele
Myelomeningocele
อาการ ขาเป็นอัมพาต, neurogenic bladder
ตรวจระบบประสาทเพื่อหาระดับไขสันหลังท่ีเสีย
หน้าท่ี โดยการตรวจความรู้สึกเจ็บ, การเคลื่อนไหวแขนขา
รักษา
การผ่าตัด