Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่3 การตัดสินใจ🔎💡✅ - Coggle Diagram
บทที่3 การตัดสินใจ🔎💡✅
พฤติกรรมการตัดสินใจ
พิจารณาปัญหาอย่างถี่ถ้วน เพื่อให้รู้สาเหคถ
ใช้ประสบการณ์มาเป็นเกณฑ์ในการตัดสินใจ
ไม่พยายามใช้ความคิดหาทางเลือกหลาบๆทางและเลือกทางที่ดีที่สุด
มุ่งแต่ผลดีผลเสียขั้นสุดท้าย
ลืมนึกถึงวัตถุปรสงค์ขององค์การ
เลิกความคิดที่จะแก้ไขปัญหา
ความหมายของการตัดสินใจ
เฮอร์เิร์ต ไซมอน กล่าวว่าการตัดสินใจคือกระบวนการที่ประกอบด้วยหลัก3 ประการ
1.การหาโอกาสที่จะตัดสินใจ
2.การหาทางเลือกที่พอเป็นไปได้
3.การเลือกทางเลือกจากหลายๆทางที่มีอยู่
แซมมวล เอเลี่ยน การตัดใจคือ กระบวนการที่บุคคลจะต้องเลือกหลายๆทางเลือก
สรุป การตัดสินใจคือการเลือกทางเลือกที่มีอยู่หลายๆทางเลือก โดยอาศัยทางเลือกที่ดีที่สุดทางเลือกเดีว
ลักษณะของการตัดสินใจ
การตัดสินใจมีทั้งเรื่องที่สำคัญและไม่สำคัญ
การตัดสินใจต้องกระทำในทุกระดับ
การตัดสินใจต้องการความรวดเร็วต่างหัน
การตัดสินใจกระทำได้ทั้งกลุ่มและโดยบุคคล
การตัดสินใจมีความซับซ้อนต่างกัน
ประเภทของการตัดสินใจ
1.การตัดสินใจภายใต้สถานการณ์ที่แน่นอน
ผู้ตัดสินใจต้องมีข้อมูลเพียงพอต่อการตัดสินใจ
ผลลัพธ์ของแต่ละทางเลือกเกิดขึ้นแน่นอน
การตัดสินใจเลือกทางเลือกจะต้องเลือกทางให้ผลประโยชน์สูงสุด
2.การตัดสินใจภายใต้สถานการณ์ที่เสี่ยง
การตัดสินใจที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของผลลัพธ์ที่แน่นอนน้อยกว่าแบบแรก
3.การตัดสินใจภายใต้สถานการณ์ที่ไม่แน่นอน
ผู้ตัดสินใจไม่มีโอกาสทราบผลลัพธ์ ของแต่ละทางเลือก
ผู้ตัดสินใจไม่มีโอกาสทราบความน่าจะเป็นของผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้น
มีตัวแปรที่ควบคุมไม่ได้ เข้ามามีอิทธิพลต่อการตัดสินใจ
เทคนิคการตัดสินใจ
การใช้ประสบการณ์และดุลพินิจ
การรีรอ
การระดมสมอง
เทคนิคเดลฟี
เทคนิคอมินัลกรุ๊ป
ให้สมาชิกแต่ละคนเขียนความคิดเห็นของตนเกี่ยวกับทางเลือกต่างๆ
กลุ่มจะเขียนความคิดเห็นเพื่อเปิดโอกาสให้ทุกคนอภิปรายข้อดี ข้อเสีย
ผู้เชี่ยวชาญพิจารณาหาค่าเฉลี่ยของแต่ละทางเลือก
ขั้นตอนการตัดสินใจ
ขั้นตอนที่1 การตระหนักในปัญหา
ผู้ปฎิบัติงานไม่พอใจการบริหารงาน
ผลงานไม่เป็นไปตามเป้าหมาย
ผู้รับบริการไม่พอใจในผลงาน
ผลงานลดลงจากเดิม
ผลการดำเนินการด้อยกว่าคู่แข่ง
ขั้นตอน2 ที่การพิจารณาและวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
ขั้นที่3 การแสวงหาทางเลือก
หาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสาเหตุของปัญหา
การกำหนดทางเลือก
ขั้นตอนที่4 การประเมินทางเลือก
ลักษณะทางเลือกที่ดี
ไม่ส่งผลกระทบต่อส่วนอื่นๆ
ใช้แก้ปัญหาได้
มาตรฐานที่ใช้ประเมินทางเลือกควรสอดคล้องกับเป้าหมาย
สอดคล้องกับเป้าหมายขององค์การ
สามารถใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดได้
ขั้นตอนที่5 การตัดสินใจทางเลือกที่ดีที่สุด
การเกิดความขัดแย้งระหว่างวัตถุประสงค์
แต่ละทางเลือกให้ผลตอบแทนใกล้เคียงกัน
เกิดผลกระทบต่อส่วนอื่นๆ
ผู้สินใจรู้สึกสับสน เมื่อพบทางเลือกใหม่ๆ
ขั้นตอนที่6 การนำทางเลือกไปปฎิบัติ
ผู้เกี่ยวข้องจะต้องยอมรับและให้ความร่วมมือในการทำงาน
ผู้บังคับบัญชาต้องมอบหน้าที่ในการตัดสินใจให้แก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง
ควรคำนึงถึงช่วงเวลาที่จะนำการตัดสินใจมาปฎิบัติ
ขั้นตอนที่7 การประเมินผล
ปัจจัยทางจิตวิทยาที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจของมนุษย์
การรับรู้
ค่านิยม
มีความหลากหลาย
เกิดจากการเรียนรู้
เปลี่ยนแปลงได้
กำหนดเงื่อนไข
ใช้ค่านิยมของตนตัดสินใจ
ค่านิยมมีสมบัติในการเบลือก
บุคลิกภาพ
สติปัญญาของผู้ตัดสินใจ
ความคาดหวังขแงผู้ตัดสินใจ
จำนวนของข้อมูลที่ผู้ตัดสินใจต้องการ
เวลาที่ใช้ในการตัดสินใจ
หลักการตัดสินใจที่ดี
กระบวนการคิดเพื่อตัดสินใจ ควรแยกกระบวนการคิดเรื่องต่างๆออกจากกระบวนการประเมิน
ผู้ตัดสินใจจะต้องมีความพยายามและกำลังใจแน่วแน่
ทุ่มเทความสนใจอยู่ที่ตัวปัญหา
ควรทำตัวให้อยู่ใรบรรยากาศของปัญหาที่ตนกำลังเผชิญ
หลังจากอยู่ในบรรยากาศการตัดสินใจแล้วจะต้องกลับไปอยู่ในบรรยากาศการตัดสินใจด้วย
ผู้ตัดสินใจจะต้องมีความมั่นคง ไม่อ่อนไหวต่อการคัดค้านฝ่ายอื่นๆ
พฤติกรรมที่เป็นอุปสรรคต่อการตัดสินใจ
มีบทบาทสำคัญต่อกระบวนการบริหารงานขององค์การ นับตั้งแต่การกำหนดวัตถุประสงค์ การวางแผน การดำเนินงาน ตลอดจนถึงการควบคุม