Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Antipsychotic Drugs, . (ยาระงับอาการทางจิต (Antipsychotic หรือ…
Antipsychotic Drugs
.
Thioridazine
ชื่อสามัญ
Thioridazine ,hydrochloride
ชื่อทาการค้า
naril, Dazine P, Ridazine, Thiomed, Thiosia, Tid
ประเภท ยาใช้รักษาอาการทางจิต
ข้อบ่งใช้ รักษาอาการทางจิต เป็น Anticholinergic และเป็นยานอนหลับ ต้านการอาเจียน
การออกฤทธิ์ เป็น Dopamine receptor antagonist
การพยาบาล
รับประทานยาพร้อมอาหารหรือนมเพื่อลดการรบกวนในกระเพาะอาหาร
อย่ารับประทานยาลดกรดหรือยาแก้ท้องเสียภายใน 2 ชั่วโมงที่รับประทานยานี้
หากมีอาการผิดปกติ เช่น ชัก หายใจลำบาก มีไข้ ความดันโลหิตสูงๆ ต่ำๆ เหงื่อออก มาก กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ ผิวหนังชีด อ่อนแรง เป็นต้น ห้รายงานแพทย์ทราบ
4หลีกเลี่ยงการดื่มสุรา และยาที่กดประสาท เช่น Narcotics, Sedative, Tranquilizers
ยานอนหลับ ยารักษาอาการแพ้ แก้หวัด เป็นต้น
Risperidone
ชื่อการค้า
uris,Risperdal Consta, Risperdal/Risperdal Quicklet, Risperi
ประเภท ยารักษาโรคจิต
ชื่อสามัญ Risperidone
ข้อบ่งใช้ รักษาโรคจิต
กลไกลการออกฤทธิ์
ยังไม่เข้าใจกลไกที่แน่นอน แต่เชื่อว่าเป็นการปิดกั้นตัวรับ Dopamine ในสมอง ปิดกั้นตำแหน่ง Serotonin receptor,Anticholinergic,Antihistaminic (H1) และ O-a ทำให้เกิด Extrapyrimidal effects
ผลข้างเคียง
นอนไม่หลับ กังวล อยู่ไม่สุข ปวดศีรษะ มึนงง ง่วงเหงาหาวนอน คลื่นไส้ อาเจียน
ท้องผูก อึดอัดท้อง ปากแห้ง น้ำลายมาก ความดันโลหิตต่ำเมื่อเปลี่ยนทำ หัวใจเต้นผิดจังหล่ะจมูกอักเสบ ไอ หายใจหอบเหนื่อย มีผื่น ผิวแห้ง แพ้แสง เจ็บหน้าอก ปวดหลัง
การพยาบาล
ให้ดื่มน้ำ 1 แก้วหลังกลืนยา
สังเกตอาการข้างเคียงของยา เช่น มึนงง เป็นลมเวลาลุกขึ้น (ให้เปลี่ยนท่าช้าๆ)
Trifluoperazine
ข้อบ่งใช้ รักษาอาการทางจิต ภาวะวิตกกังวล Schizophrenia และความผิดปกติต่างๆ ทางจิต
ประเภท ยาพวก Phenothiazine
ชื่อสามัญ Trifluoperazine hydrochloride
ชื่อการค้า Psyrazine, Triflazine. Triflumed, Triozine, Triplex
การออกฤทธิ์
เป็นยาพวก Phenothiazine โดยออกฤทธิ์อุดกั้น Postsynaptic dopamine receptors ในสมอง
ใช้บำบัดอาการทางจิต และออกฤทธิ์ระงับกกรากระตุ้นศูนย์ควบคุมประสาทสมองโดยตรง
ใช้ระงับการอาเจียนที่สืบเนื่องมาจากสาเหตุต่างๆ เช่น อาการคลื่นไส้อาเจียนหลังผ่าตัด
.
ผลข้างเคียง อาจเกิดอาการทางจิต กลัวการนั่ง เมื่อนั่งจะอยู่ไม่สุข ความดันโลหิตต่ำเมื่อเปลี่ยนท่า ง่วงนอน
มึนงง ท้องผูก เวียนศีรษะ หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ หากให้ขนาดสูงอาจทำให้ความดันโลหิต
ต่ำ ชัก มีผื่นขึ้นตามผิวหนัง สายตามองไม่ชัดเจน กลัวแสง
การพยาบาล
หมั่นตรวจสอบสัญญาณชีพ ความสมดุลของน้ำ
สังเกตการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์
แนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานยาพร้อมนมหรืออาหาร เพื่อป้องกันการระคายเคืองกระเพาะ
อาหาร
.
Olanzapine
การพยาบาล
1.ติดตามผลข้างเคียง เช่น มึนงง ง่วงนอน ชัก (ต้องหลีกเลี่ยงการขับรถ และการทำงาน เกี่ยวกับเครื่องจักร) หน้ามืดเมื่อเปลี่ยนท่า
(ให้เปลี่ยนท่าช้าๆ) หัวใจเต้นเร็ว (ให้พักผ่อน)เป็นต้น
ไม่ให้ยานี้ในหญิงตั้งครรภ์
หากมีอาการผิดปกติ เช่น หลับโดยไม่รู้สึกตัว มีไข้ เจ็บคอ มีแผลในปาก เหนื่อย เป็นตัน
ให้รายงานแพทย์ทราบ
ชื่อสามัญ
Olanzapine
ชื่อการค้า
Olapin-10, Zyprexa/ Zyprexa Zydis
ประเภท
ยารักษาโรคจิต
ข้อบ่งใช้
รักษาผู้ป่วย Schizophrenia ทั้งระข้อบ่งใช้
รักษาผู้ป่วย Schizophrenia ทั้งระยะสั้นและระยะยาว
ยะสั้นและระยะยาว
การออกฤทธิ์
ยังไม่เข้าใจกลไกที่แน่นอน แต่เชื่อว่าเป็นการปิดกั้นตัวรับ Doparnine ในสมองปิดกั้นตำแหน่ง Serotonin receptor, Anticholinergic, Antihistaminic (Hi) และ Cl-adrenergic ทำให้เกิด Extrapyrimidal effects
ผลข้างเคียง
มึนงง ปวดศีรษะ ท้องผูก ปวดท้อง หน้ามืดเมื่อเปลี่ยนท่าบวมตามแขนขา หัวใจเต้นเร็วไอ คออักเสบ มีไข้ น้ำหนักเพิ่ม ปวดข้อ
Thioridazine
ชื่อสามัญ Thioridazine hydrochloride
ชื่อการค้า naril, Dazine P, Ridazine, Thiomed, Thiosia, Tid
ประเภท ยาใช้รักษาอาการทางจิต
ข้อบ่งใช้ รักษาอาการทางจิต เป็น Anticholinergic และเป็นยานอนหลับ ต้านการอาเจียน
การออกฤทธิ์ เป็น Dopamine receptor antagonist
ผลข้างเคียง ความดันโลหิตต่ำชนิดปานกลาง แพ้แสงแดด Agranulocytosis ท้องผูก ปากแห้ง
การพยาบาล
รับประทานยาพร้อมอาหารหรือนมเพื่อลดการรบกวนในกระเพาะอาหาร
อย่ารับประทานยาลดกรดหรือยาแก้ท้องเสียภายใน 2 ชั่วโมงที่รับประทานยานี้
หากมีอาการผิดปกติ เช่น ชัก หายใจลำบาก มีไข้ ความดันโลหิตสูงๆ ต่ำๆ เหงื่อออก
มาก กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ ผิวหนังชีด อ่อนแรง เป็นต้น ให้รายงานแพทย์ทราบ
4.หลีกเลี่ยงการดื่มสุรา และยาที่กดประสาท เช่น Narcotics, Sedative, Tranquilizers
หากมีอาการผิดปกติของ Agranulocytosis เช่น มีไข้ หนาวสั่น เจ็บคอ ไอ ปวดหลัง
เป็นต้น ให้รายงานแพทย์ทราบ
ยานี้อาจเป็นสาเหตุทำให้มึนงง ตาพร่ามัว ห้ามขับรถหรือใช้ของมีคม
ให้เคลื่อนไหวช้าๆ จากท่านอนเป็นท่านั่งหรือท่ายืนหากมีอาการวิงเวียน
หากมีอาการท้องผูก ให้รับประทานผัก ผลไม้ ดื่มน้ำให้เพียงพอวันละ 2,500-3,000
มิลลิลิตร ออกกำลังกาย หากมีอาการมากให้รายงานแพทย์ทราบ
ยาอาจทำให้มีปัสสาวะคั่ง ระวังในผู้สูงอายุเพศชาย หากมีอาการนี้ให้รายงานแพทย์ทราบ
10.หากลืมรับประทานยาให้รับประทานทันทีที่นึกได้ และไม่รับประทานยาเพิ่มเป็น 2 เท่า
ในมื้อนั้น
Pimozide
ชื่อสามัญ Pimozide
ชื่อการค้า Orap/ Orap Forte, Pizide
ประเภท ยาใช้รักษาอาการทางจิต
ข้อบ่งใช้ รักษาอาการทางจิตชนิดเรื้อรัง โดยเฉพาะ Paranoid & Schizoid
การออกฤทธิ์ เป็น Dopamine receptor antagonist ออกฤทธิ์ปิดกั้นตัวรับ Dopamine บน Neurons ในระบบประสาทส่วนกลาง
ผลข้างเคียง ความดันโลหิตต่ำ แพ้แสงแดด เม็ดเลือดขาวต่ำ (Agranulocytosis)
.
การพยาบาล ให้คำแนะนำผู้ป่วย ดังนี้
รับประทานยาพร้อมอาหารหรือนมเพื่อลดการรบกวนในกระเพาะอาหาร
อย่ารับประทานยาลดกรดหรือยาแก้ท้องเสียภายใน 2 ชั่วโมงที่รับประทานยานี้
3.หากมีอาการผิดปกติ เช่น ชัก หายใจลำบาก มีไข้ ความดันโลหิตสูงๆ ต่ำๆ เหงื่อออกมาก กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ ผิวหนังชีด อ่อนแรง เป็นต้น ให้รายงานแพทย์ทราบ
.
Flupentixol
ชื่อสามัญ
Flupentixol/ Flupenthixol
ชื่อการค้า
*Deanxit, Fluanxol/ Fluanxol Depot
ประเภท
ยารักษาโรคจิต
ข้อบ่งใช้
รักษาผู้ป่วย Schizophrenia ที่ใช้ยาอื่นไม่ได้ผล
การออกฤทธิ์
เป็น Dopamine receptor antagonist โดย Antagonist ที่ Oadrenergic receptor
ผลข้างเคียง
ความดันโลหิตต่ำ แพ้แสงแดด Agranulocytosis
.
การพยาบาล
รับประทานยาพร้อมอาหารหรือนมเพื่อลดการรบกวนในกระเพาะอาหาร
อย่ารับประทานยาลดกรดหรือยาแก้ท้องเสียภายใน 2 ชั่วโมงที่รับประทานยานี้
3.หากมีอาการผิดปกติ เช่น ชัก หายใจลำบาก มีไข้ ความดันโลหิตสูงๆ ต่ำๆ กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ ผิวหนังชีด อ่อนแรง เป็นต้น ให้รายงานแพทย์ทราบ
Haloperidol
ชื่อสามัญ Haloperidol
ชื่อการค้า Haldol, Haldol Decanoas, Halodec, Halomed, Halo-P, Halopol, Halox, Haricon,
Haridol, Haridol Decanoate, H-Tab, Perida, Polyhadol, Polyhadon, Tensidol
ประเภท : ยาต้านโรคจิต กลุ่ม Butyrophenones เป็นกลุ่มที่มีความแรงสูง
ข้อบ่งใช้ : รักษาโรคจิตที่ให้ผลในการรักษาสูง
การออกฤทธิ์ : ต้านการทำงานของ Dopamine ปิดกั้น Dopamine D2 receptors ที่สมองส่วน Limbic
and frontal cortex
.
ผลข้างเคียง : หากใช้ขนาดสูงๆ อาจตายได้ หากใช้ร่วมกับยากดประสาทตัวอื่นๆ เช่น แอลกอฮอล์
อาจพบ Agranulocytosis และ Pigmentary Retinopathy คลื่นไส้ ปากแห้ง
ตามัว ง่วงนอน คอแข็ง
.
การพยาบาล ให้คำแนะนำผู้ป่วย ดังนี้
รับประทานยาพร้อมอาหารหรือนมเพื่อลดการรบกวนในกระเพาะอาหาร
อย่ารับประทานยาลดกรดหรีอยาแก้ท้องเสียภายใน 2 ชั่วโมงที่รับประทานยานี้
หากมีอาการผิดปกติ เช่น ชัก หายใจลำบาก มีไข้ ความดันโลหิตสูงๆ ต่ำๆ เหงื่อออก มาก กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ ผิวหนังซีด อ่อนแรง เป็นตัน ให้รายงานแพทย์ทราบ
Perphenazine
ชื่อสามัญ Perphenazine
ชื่อการค้า'Anxipress-D, Conazine, Monazine, *Neuragon-A/Neuragon-B
Pernazine, Perzine-P, Polybon, Porazine
ประเภท
ยารักษาโรคจิต
การอกฤทธิ์ เป็นยาพวก Piperazine phenothiazine โดยออกฤทธิ์อุดกั้น Postsynaptic dopaminereceptors ในสมอง ใช้บำบัดอาการทางจิต และออกฤทธิ์ระงับการกระตุ้นที่ศูนย์ควบคุมการอาเจียนในสมองโดยตรง จึงสามารถใช้ระงับการอาเจียนอาจเกิดอาการทางจิต กลัวการนั่ง เมื่อนั่งจะอยู่ไม่สุข ความดันโลหิตต่ำเมื่อเปลี่ยนท่ ง่วงนอนมึนงง หลงลืม ท้องผูก เวียนศีรษะ ปวดศีรษะอ่อนเพลีย มือสั่น กล้ามเนื้อกระตุก สมองบวมหัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ หากให้ขนาดสูงอาจทำให้ความดันโลหิตต่ำ ซัก มีผื่นขึ้นตามผิวหนัง สายตามองไม่ชัดเจน กลัวแสง
การพยาบาล
หมั่นตรวจสอบสัญญาณชีพ ความสมดุลของน้ำ
2.สังเกตการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์
แนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานยาพร้อมนมหรืออาหาร เพื่อป้องกันการระคายเคืองกระเพาะอาหาร
.
ยาระงับอาการทางจิต (Antipsychotic หรือ Neuroleptic) หรือ ยากล่อมประสาทหลัก (Major tranquilizer)[1] เป็นยาประเภทหนึ่งที่ใช้รักษาโรคจิต (ได้แก่อาการหลงผิด, ประสาทหลอน, อาการจิตหวาดระแวง หรือ ความผิดปรกติในความคิด) โดยเฉพาะโรคจิตเภทและโรคอารมณ์สองขั้ว อย่างไรก็ตาม มีการใช้ยานี้เพื่อรักษาโรคอื่นๆที่ไม่ใช่โรคจิตเช่นกัน การใช้ยาประเภทนี้ติดต่อกันในระยะยาวอาจก่อให้เกิดผลข้างเคียงอันได้แก่ การเคลื่อนไหวนอกอำนาจจิตใจ, เต้านมโต, และโรคอ้วนลงพุง ผู้สูงอายุมีแนวโน้มที่จะเกิดภาวะสมองเสื่อมจากการใช้ยาประเภทนี้
• โรคจิตเภท (Schizophrenia)
• โรคจิตอารมณ์ (Schizoaffective disorder)
• โรคอารมณ์สองขั้ว (Bipolar disorder)
• โรคซึมเศร้าแบบจิตหลอน (Psychotic depression)
• โรคซึมเศร้าจากการดื้อยา (Treatment-resistant depression)
ชนิดของยา
ยารักษาอาการทางจิตกลุ่มเดิม (FGAs)
Phenothiazine
Thioxanthene
Butyrophenone
Diphenylbytylpiperidine
อาการข้างเคียง
หายใจลำบาก มีไข้ ความดันโลหิตสูง , ต่ำ เหงื่อออกมาก อ่อนแรง มึนงง ท้องผูก เวียนศีรษะ อ่อนเพลีย มือสั่น กล้ามเนื้อกระตุกสมอง บวมหัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ มีผื่นขึ้นตามผิวหนัง สายตาไม่ชัดเจน
การพยาบาล
1.สังเกตการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์
2.แนะให้ผู้ป่วยรับประทานยาพร้อมมนหรืออาหารเพื่อป้องกันดารระคายเคืองกระเพาะอาหาร
3.ติดตามอาการข้างเคียง หายใจลำบาก มีไข้ ความดันโลหิตสูง ต่ำ เหงื่อออกมา ผิวหนังซีด อ่อนแรง หากพบความผิดปกติรายงานแพทย์ทราบ
ยารักษาอาการทางจิตกลุ่มใหม่ (SGAs)
Clozapine
Risperidone
Olanzapine
Ziprasidone
Quetiapine
Amisulpride
Lurasidone
Paliperidone
Aripiprazole
อาการข้างเคียง
นอนไม่หลับ กังวล อยู่ไม่สุข ปวดศีรษะ อาเจียน ท้องผูก ท้องอืด ปากแห้ง น้ำลายมาก หัวใจเต้นผิดจังหวะ หายใจเหนื่อย มีผื่น แพ้แสง เจ็บหน้าอก ปวดหลัง ซึมเศร้า ชัก สับสน ไม่มีแรง หน้ามืดเมื่อเปลี่ยนท่า
การพยาบาล
1.รับประทานยาพร้อมอาหารหรือนมเพื่อลดการรบกวนในกระเพราะอาหาร
2.หลีกเลี่ยงการดื่มสุรา
3.หากมีอาการผิดปกติ เช่น มีไข้ หนาวสั่น เจ็บคอ ไอ ปวดหลัง ให้รายงานแพทย์ทรา
4.ยาอาจทำให้มีปัสสาวะคั่งในผู้สูงอายุเพศชาย หากมีอาการรายงานแพทย์ทราบ
ยารักษาอาการทางจิตชนิดฉีด (Injectable antipsychotics)
ระยะปานกลาง
Zuclopenthixol acetate
ออกฤทธิ์ระยะสั้น
Haloperidol
Chlorpromazine
ระยะยาว
Haloperidol decanoate Fluphenazine decanoate
Flupentixol decanoate
Risperidol LAI
Paliperidone palmitate Aripiprazole LAI
กลไกการออกฤทธิ์
ยารักอาการทางจิตกลุ่มเดิม จะออกฤทธิ์ยังยั้งการทำงานของ Dopamine D2 receptor ในสมองเป็น ในสมองเป็นหลักประมาณ โดยผลการออก ฤทธิ์ของยาจะเป็นไปตาม dopamine pathway
ยารักษาอาการทางจิตกลุ่มใหม่ (SGAs) จะออกฤทธิ์ยับยั้ง serotonin receptor
subtype ต่างๆ ส่งผลให้อาการทางจิตด้านลบและอาการด้าน cognitive ของผู้ป่วยดีขึ้น และยังลดอาการข้างเดียง extrapyramidal (EPS) ด้วย ทั้งนี้ยากลุ่มใหม่จะออกฤทธิ์ยับยั้ง D2 receptor บริเวณ mesolimbic และ mesocortical
pathway มากกว่าบริเวณ nigrostriatal หรือ tuberoinfundibular pathway และยังจับกับ D2 receptor ไม่แน่นมากและหลุดออกจาก receptor ได้เร็วกว่ายากลุ่มเดิม ดังนั้นจึงทำให้เกิด
อาการข้างเคียง extrapyramidal (EPS) น้อยลงด้วย
ผลข้างเคียง
Extrapyramidal side effects (EPS) เป็นผลข้างเคียงจากยารักษาอาการทางจิตที่พบได้บ่อย โดยเฉพาะจากการใช้ยารักษา
อาการทางจิต กลุ่มที่มี potency สูง เกิดจากการที่ยาไปยับยั้งการทำงานของ dopamine receptor ที่ nigrostriatal pathway
1.1 Acute dystonia
ผู้ป่วยจะมีอาการบิดเกร็งอย่างทันทีของกล้ามเนื้อในร่างกาย ทำให้มีอาการลิ้นแข็ง พูดหรือกลืนลำบาก ตาเหลือก (oculogyric crisis) คอบิด (torticollis) หรือหลังแอน (opisthotonos) บางรายอาจมีอาการรุนแรงจนเกิดการหดเกร็งของกล้ามเนื้อกล่องเสียง (laryngospasm) ซึ่งเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตได้ อาการเหล่านี้มักเป็นๆหาย ๆได้ โดยมักเกิดขึ้นตั้งแต่ระยะแรกของการได้รับยารักษาอาการทางจิต
การรักษา ให้ยา benztropine 1-2 mg ฉีดเข้ากล้ามเนื้อหรือหลอดเลือดดำ หรืออาจให้ ยา diazepam 5-10 ng ฉีดเข้าหลอดเลือดดำหรือยา diphenhydramine 25-50 mg ฉีดเข้าหลอดเลือดดำ และเมื่ออาการดีขึ้นแล้ว ควรให้รับประทานยาต่อ โดยให้เป็นยา trihexyphenidy/2-5 mg แบ่งรับประทาน 3 ครั้งต่อวัน
1.2 Akathisia
ผู้ป่วยจะรู้สึกกระวนกระวายใจ กระสับกระส่าย ไม่สามารถอยู่นิ่งได้ อาจต้องขยับแขน
ขา เดินไปมา หรือเคลื่อนไหวตลอดเวลา มักเกิดในช่วง 2-3 สัปดาห์ แรกของของการได้รับยา
การรักษา แนะนำให้ปรับลดขนาดยาลงหากสามารถทำได้ หรือให้รับประทานยา propranolol วันละ 30-120 mg หรือยากลุ่ม benzodiazepine เช่น diazepam วันละ 6-20 mg
1.3 Parkinsonism
ผู้ป่วยจะมีอาการกล้ามเนื้อแข็งเกร็ง มี cogwheel rigidity สั่น (tremor) เคลื่อนไหวช้า
(bradykinesia) พบ perioral tremor ได้บ่อย แต่มักไม่พบ pil-rolling tremor เหมือนใน
idiopathic parkinsonism มักเกิดในช่วง 4 สัปดาห์แรกของการได้รับยาและส้มพันธ์กับขนาดยา ที่ใช้6
การรักษา แนะนำให้ปรับลดขนาดลงหากสามารถทำได้ หรือเปลี่ยนยา หรือให้รับประทานยากลุ่มแอนดี้โคลิเนอร์จิก เช่น trihexyphenidy 2-5 mg แบ่งรับประทาน 3 ครั้งต่อ วัน หรือ diphenhydramine 25 mg แบ่งรับประทาน 4 ครั้งต่อวัน
1.4 Tardive dyskinesia
ผู้ป่วยจะมีการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อที่มากกว่าปกติและเกิดขึ้นซ้ำๆโดยไม่ตั้งใจ โดย
มีอาการสำคัญที่เรียกว่า buccolinguomasticatory triad คือ อาการดูดหรือขมุบขมิบปาก มี
lateral jaw movement และมีลิ้นม้วนไปมาในปากหรือใช้ลิ้นดุนแก้ม หากให้อ้าปาก ผู้ป่วยจะ
แลบลิ้นออกมาเอง นอกจากนี้ยังมีอาการขยับนิ้ว บีบมือ คอบิดเอียง หรือกล้ามเนื้อมัดใหญ่ เคลื่อนไหวแบบ choreoathetoid พบในผู้ป่วยที่ได้รับยารักษาอาการทางจิตต่อเนื่องเป็น
เวลานาน โดยทั่วไปมักนานเกิน 6 เดือน
การรักษา แนะนำให้ปรับลดขนาดยาลงหรือหยุดยาหากสามารถทำได้ ส่วนใหญ่ผู้ป่วยจะมีอาการ tardive dyskinesia ลดลงร้อยละ 50 ในระยะเวลา 18 เดือนหลังหยุดยา นอกจากนี้
อาจพิจารณาเปลี่ยนยาเป็น clozapine ซึ่งพบว่าทำให้อาการ tardive dyskinesia ดีขึ้น
Neuroleptic Malignant Syndrome (NMS)
ภาวะนี้จัดเป็นภาวะฉุกเฉินซึ่งอาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ มีอาการสำคัญคือ muscle
rigidity, hyperthermia และ autonomic instability และมักมี mental status change ตรวจเลือด
พบ creatinine kinase (CPK) > 300 U/mL, white blood cell (WBC) > 15000 mm' มักพบใน
ช่วงแรกของการเริ่มใช้ยาหรือเมื่อเพิ่มหรือลดขนาดของยา
การรักษา หากสงสัยภาวะดังกล่าวควรหยุดยาทันที และอาจให้รับประทานยากลุ่ม dopamine agonist เช่น bromocriptine และยา dantrolene sodium ซึ่งเป็นยา antispasticity รวมไปถึงเฝ้าระวังและป้องกันภาวะรุนแรงที่อาจเกิดขึ้นได้ เช่น ไตวาย
Chlorpromazine
Chlorpromazine hydrochloride
*Ama, Chlopazine, Chlormazine, Chlorpromasit, Chlorpromazine, Chlorpromed,Duncan, Matcine, Pogetol, Prozine
ประเภท
กลุ่มยาที่กดการทำงานของจิต ช่วยให้อารมณ์และพฤติกรรมของผู้ป่วยดีขึ้น โดยไม่ติดยา
ข้อบ่งใช้ รักษาโรคจิตชนิดเฉียบพลันและเรื้อรัง รวมทั้ง Schizophrenia ใช้รักษา Tetanus อาการสะอึก แก้อาการคลื่นไส้อาเจียนในเด็ก
การออกฤทธิ์ ช่วยให้อาการทางจิตทุเลาหรือหายไป ผู้ป่วยหลับง่ายและหลับสนิท แต่ในคนปกติจะทำให้พฤติกรรมและอารมณ์เปลี่ยนแปลงไปจากปกติ โดยจะทำให้สงบลงไม่ตอบสนองต่อการกระตุ้น ทำให้เกิดอาการ Exrapyramidal syndrome และเมื่อหยุดยาอาการเหล่านี้จะหายไปหลังหยุดยา 6 เดือนหรือไม่หาย อาการ Extrapyramidal syndrome เป็นกลุ่มอาการที่เกิดจากการทำงานของ Extrapyramidal system ผิดปกติ ได้แก่ การเคลื่อนไหวผิดปกติ เช่น มือสั่น ลิ้นสั่น หรือมีอาการเกร็งกระตุกของกล้ามเนื้อตา กล้ามเนื้อหลัง กล้ามเนื้อคอมี อาการกระสับกระส่าย ท่าเดินเสียไป มีน้ำลายไหลมาก เป็นต้น มีฤทธิ์ระงับอาเจียน ซึ่งเกิดจากการกระตุ้นที่ศูนย์ควบคุมอาเจียนในสมองทำให้อุณหภูมิร่างกายลดลงแต่ไม่ใช่ยาลดไข้ ทำให้ความดันโลหิตลดลงอาจเกิดความดันโลหิตต่ำเมื่อเปลี่ยนท่าทำให้เกิดอาการคล้ายการออกฤทธิ์ของ atropineได้แก่ ปากคอแห้ง ท้องผูก ปัสสาวะคั่งในกระเพาะปัสสาวะ การปรับเลนส์ตาเสียไป
ผลข้างเคียง ง่วงนอน คัดจมูก ปากคอแห้ง ท้องผูก ความดันโลหิตลดลง เกิดความดันโลหิตต่ำเมื่อเปลี่ยนท่า เกิด Extrap yramidal syndrome มีความผิดปกติทางโลหิต เช่น Agranulocytosis.Leukopenia เป็นต้น หญิงอาจเกิดการตั้งครรภ์เทียม มีการหลั่งน้ำนม คัดตึงเต้านม ขาดประจำเดือน ชายอาจมีเต้านมโตขึ้น และสมรรถภาพทางเพศลดลง นอกจากนี้อาจทำให้ผิวหนังมีความไวต่อแสง แพ้ง่าย อาจมีผื่นขึ้น
การพยาบาล
หมั่นตรวจสอบสัญญาณชีพ ความสมดุลของน้ำ
สังเกตการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์
แนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานยาพร้อมนมหรืออาหาร เพื่อป้องกันการระคายเคืองกระเพาะอาหาร
Clozapine
ชื่อการค้า Cloril, Clopaze, Clozamed, Clozapin 100, Clozaril
ชื่อสามัญ Clozapine
ประเภท ยารักษาโรคจิต
ข้อบ่งใช้ รักษาผู้ป่วย Schizophrenia ที่ใช้ยาอื่นไม่ได้ผล
การออกฤทธิ์ เป็น Dopamine receptor antagonist โดย Antagonize ที่ O-adrenergic, Histaminic,Serotonergic และ Cholinergic CNS receptors
ผลข้างเคียง สับสน ชัก ไม่มีแรง ซึมเศร้า รบกวนการนอน หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตต่ำ หน้ามืดเมื่อเปลี่ยนท่า มีการเปลี่ยนแปลงของ EKG มีความดันโลหิตสูง เป็นลม มีความผิดปกติทาง
เลือด เช่น Agranulocytosis, Eosinophillia. Granulocytopenia, Leukopenia,
Throm-bocytopenia มีไข้ เป็นต้น
การพยาบาล
รับประทานยาพร้อมอาหารหรือนมเพื่อลดการรบกวนในกระเพาะอาหาร
อย่ารับประทานยาลดกรดหรือยาแก้ท้องเสียภายใน 2 ชั่วโมงที่รับประทานยานี้
หากมีอาการผิดปกติ เช่น ชัก หายใจลำบาก มีไข้ ความดันโลหิตสูงๆ ต่ำๆ เหงื่อออกมาก กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ ผิวหนังซีด อ่อนแรง เป็นต้น ให้รายงานแพทย์ทราบ
หลีกเลี่ยงการดื่มสุรา และยาที่กดประสาท เช่น Narcotics. Sedative, Tranquilizers
ยานอนหลับ ยารักษาอาการแพ้ ยาแก้หวัด เป็นต้น
หากมีอาการผิดปกติของ Agranulocytosis เช่น มีไข้ หนาวสั่น เจ็บคอ ไอ ปวดหลัง
เป็นต้น ให้รายงานแพทย์ทราบ
ยานี้อาจเป็นสาเหตุทำให้มึนงง ตาพร่ามัว ห้ามขับรถหรือใช้ของมีคม
ให้เคลื่อนไหวช้าๆ จากท่านอนเป็นท่านั่ง หรือท่ายืน หากมีอาการวิงเวียน
8 หากมีอาการท้องผูก ให้รับประทานผัก ผลไม้ ดื่มน้ำให้เพียงพอวันละ 2,500-3,000
มิลลิลิตร ออกกำลังกาย หากมีอาการมากให้รายงานแพทย์ทราบ
ยาอาจทำให้มีปัสสาวะคั่ง ระวังในผู้สูงอายุเพศชาย หากมีอาการนี้ให้รายงานแพทย์ทราบ
Fluphenazine
ชื่อสามัญ Fluphenazine
ชื่อการค้า *Cetavol, Deca, Fendec, Fluzine-P, Modecate, Pharnazine, Potensone
ประเภท ยารักษาโรคจิต กลุ่ม Phenothiazine
ข้อบ่งใช้ รักษาอาการทางจิต เช่น Chronic schizophrenia เป็นต้น โดยฉีดเป็นเวลานาน นอกจากนี้ยังมีประโยชน์ในการรักษาอาการสะอึกเรื้อรังได้ผลดี เช่น อาการสะอึกที่เกิดจากภาวะไตวาย
การออกฤทธิ์ เป็นยาพวก Piperazine phenothiazine โดยออกฤทธิ์อุดกั้น Postsynaptic dopamine receptors ในสมอง
ผลข้างเคียง
อาจเกิดอาการทางจิต กลัวการนั่ง เมื่อนั่งจะอยู่ไม่สุข ความดันโลหิตต่ำเมื่อเปลี่ยนท่า ง่วงนอน มึนงง หลงลืม ท้องผูก เวียนศีรษะ ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย มือสั่น กล้ามเนื้อกระตุกสมองบวมหัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ หากให้ขนาดสูงอาจทำให้ความดันโลหิตต่ำ ชัก มีผื่นขึ้นตามผิวหนัง สายตามองไม่ชัดเจน กลัวแสง
การพยาบาล
หมั่นตรวจสอบสัญญาณชีพ ความสมดุลของน้ำ
สังเกตการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์
แนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานยาพร้อมนมหรืออาหาร เพื่อป้องกันการระคายเคืองกระเพาะ
อาหาร
ชื่อสามัญ
ชื่อการค้า
.