Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Heart Failure - Coggle Diagram
Heart Failure
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
- เสี่ยงต่อภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากพื้นที่แลกเปลี่ยนแก๊สในปอดและตัวนำออกซิเจนลดลง
- มีภาวะของเสียคั่งและภาวะไม่สมดุลของอิเล็กโทรไลต์ในร่างกายเนื่องจากไตสูญเสียหน้าที่
- พร่องกิจวัตรประจำวันเนื่องจากมีการเคลื่อนไหวร่างกายลดลง
- เสี่ยงต่อภาวะพร่องสารอาหารเนื่องจากมีความอยากรับประทานอาหารลดลง
- แบบแผนการนอนหลับไม่มีประสิทธิภาพเนื่องจากสิ่งแวดล้อมในหอผู้ป่วย
ข้อมูลทั่วไป
-
ประวัติเจ็บป่วยปัจจุบัน
1 สัปดาห์ก่อนมาโรงพยาบาล มีอาการแน่นหน้าอก แขนขาบวม ปัสสาวะออกน้อย ไปรักษาที่คลินิก ได้ยาขับปัสสาวะมารับประทาน
-
2 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล เหนื่อยมากขึ้น ญาติจึงนำส่งโรงพยาบาล แรกรับที่ ER สัญญาณชีพ BP= 180/80 mmHg PR= 98 /min RR 40/min T= 38 C พ่นยา berodual 1 NB , on HFNC flow 60 LPM Fio2 0.4 T 34 c , ได้ Lasix 80 mg IV Stat , Lactate 0.3 , ได้ Ceftriaxone 2 gm . IV ,admit PC Zone
ประวัติโรคประจำตัว
-
-
NSTEMI , ภาวะหัวใจล้มเหลว ปี 2564
ผู้ป่วย เพศหญิง อายุ 76 ปี เตียง 31 ศาสนา พุทธ สถานภาพ หย่าร้าง อาชีพ ว่างงาน วันที่เข้ารับการรักษา 3 มกราคม 2566
การวินิจฉัย
-
-
- Lung พบ crepitation sound
- การประเมินภาวะสมดุลของน้ำและเกลือแร่ในร่างกาย
- การตรวจเลือด เช่น การตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด การตรวจการทำงานของไต การตรวจการทำงานของตับ การตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ การตรวจเอนไซม์กล้ามเนื้อหัวใจ เป็นต้น
- การตรวจภาพถ่ายรังสีทรวงอก
-
- การตรวจการทำงานของหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูงหรืออัลตราซาวนด์หัวใจ
กรณีศึกษา
การซักประวัติ
NSTEMI , ภาวะหัวใจล้มเหลว ปี 2565
-
-
-
-
การรักษา
-
ทฤษฎี
- การรักษาด้วยยา เช่น ยาขับปัสสาวะ ยาลดความดันโลหิต ยาเพิ่มการบีบตัวของหัวใจ ยากลุ่มลดการกระตุ้นระบบนิวโรฮอร์โมน ยาขยายหลอดเลือด ยาต้านเกล็ดเลือด ยาต้านภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ เป็นต้น
- การใช้เครื่องกระตุกหัวใจอัตโนมัติชนิดฝังในร่างกาย การใช้เครื่องกระตุ้นหัวใจถาวรชนิดที่ทำให้หัวใจห้องล่างซ้ายและขวาบีบตัวพร้อมกัน ร่วมหรือไม่ร่วมกับเครื่องกระตุกหัวใจอัตโนมัติชนิดฝังในร่างกาย
- การผ่าตัดใส่เครื่องช่วยการสูบฉีดเลือดของหัวใจ
- การผ่าตัดปลูกถ่ายหัวใจ การผ่าตัดลิ้นหัวใจรั่ว
ปัจจัยเสี่ยง
กรณีศึกษา
-
ผู้ป่วยมีโรคประจำตัวเป็นโรคไขมันในเลือดสูง เมื่อมีชั้นไขมันเพิ่มขึ้นในหลอดเลือดทำให้หลอดเลือดหัวใจตีบ
ผู้ป่วยเป็น ESRD ไตไม่สามารภขับของเสียได้ ทำให้มีของเสียคั่งในร่างกายเป็นสาเหตุทำให้หัวใจทำงานไม่ปกติ
ทฤษฎี
-
การใช้ยาบางชนิด ได้แก่ ยารักษาอาการหัวใจเต้นผิดจังหวะ ยาไพโอกลิตาโซน (Pioglitazone) ซึ่งเป็นยารักษาโรคเบาหวาน ยารักษาโรคมะเร็ง ยาแก้ปวดชนิดเอ็นเสด (NSAIDs) ยารักษาโรคปอด ยาฆ่าเชื้อ ยาเหล่านี้อาจไปกระตุ้นให้เกิดความเสี่ยงหัวใจวายได้
การหยุดหายใจระหว่างนอนหลับ ส่งผลให้ระดับออกซิเจนในเลือดต่ำลง และเกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ อันเป็นหนึ่งในสาเหตุของหัวใจวาย
-
-
-
-
-
ภาวะแทรกซ้อน
ทฤษฎี
- อาการอ่อนเพลียอย่างรุนแรง เมื่อร่างกายสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงไม่เพียงพอ ร่างกายก็จะได้รับออกซิเจนลดลงจนทำให้อ่อนเพลียอย่างรุนแรงได้
- ไตวาย เมื่อไตไม่ได้รับเลือดและออกซิเจนอย่างเพียงพอ ไตก็จะเริ่มเสื่อม และอาจส่งผลให้ไตวายเรื้อรังได้ในเวลาต่อมา ผู้ป่วยจะต้องใช้วิธีการฟอกไตเข้าช่วย
- โรคลิ้นหัวใจ ลิ้นหัวใจมีหน้าที่ในการควบคุมการไหลเวียนของเลือดที่ผ่านหัวใจ แต่เมื่อหัวใจวาย ก็จะทำให้มีอาการหัวใจโต หรือหัวใจเกิดแรงดันภายในมากขึ้น จนลิ้นหัวใจไม่สามารถทำงานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ก่อให้เกิดความเสียหายหรือเสื่อมสภาพตามมาในที่สุด