Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการปรับตัวของรอย (The Roy adaptation model) - Coggle Diagram
ทฤษฎีการปรับตัวของรอย
(The Roy adaptation model)
ทฤษฎีการปรับตัว (Theory 0f Adaptive Modes)
มโนทัศน์ที่1 การปรับตัวด้านร่างกาย (Physiogical Mode)การปรับตัวเพื่อรักษาความมั่นคงด้านร่างกายพฤติกรรมการปรับตัวด้านนี้จะตอบสนองต่อความต้องการพื้นฐานของบุคคล
มโนทัศน์ที่ 2 การปรับตัวด้านอัตมโนทัศน์ (Self - concept Mode) การปรับเพื่อความมั่นคงด้านจิตใจ ซึ่งเกี่ยวข้องกับความรู้สึกนึกคิดที่มีต่อตนเอง
อัตมโนทัศน์ด้านร่างกาย
อัตมโนทัศน์ด้านส่วนตัว
มโนทัศน์ที่ 3 การปรับตัวด้านบทบาทหน้าที่ (Role-Function Mode) การแสดงบทบาทใดๆ ถือเป็นการทำหน้าที่ของบุคคลในสังคม แบ่งเป็น3 ประเภท ได้แก่
บทบาทปฐมภูมิ
บทบาททติยภูมิ
บทบาทตติยภูม
มโนทัศน์ที่ 4 การปรับตัวด้านการพัฒนาการพึ่งพาอาศัยผู้อื่น(Interdependence Mode) การปรับตัวเพื่อความมั่นคงทางสังคมเพราะบุคคล จำเป้นต้องพึ่งพาอาศัยวึ่งกันและกัน
แนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ทฤษฎีการปรับตัวของรอย กล่าวว่าบุคคลจำเป็นต้องมีการปรับตัวกระบวนการควบคุมที่บุคคลใ้ในชีวิต ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ระบบการควบคุมและระบบการรับรู้ทั้งสองด้านนี้จะอยู่บนพื้นฐานการปรับตัวทั้ง4ด้าน คือ ด้านร่างกาย ด้านอัตมโนทัศน์ ด้านบทบาทหน้าที่ และด้านการพึ่งพาอาศัยผู้อื่น
บุคคลที่จะทำให้ทำได้
( Human as Adaptive System )
สิ่งที่นำออกหรือผลลัพธ์ ( Output )
เป็นเรื่องที่จะต้องแยกแยะจากสิ่งที่ต้องทำทั้ง 4 ด้าน
กระบวนการ
ตัวควบคุมการควบคุม (Regulator Mechanism) เป็นสิ่งที่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถเรียกใช้ได้ตามต้องการเพื่อขอความช่วยเหลือสำหรับบุคคล
เกณฑ์ต่อไปนี้ (Cognator mechanism ) เป็นสิ่งที่ต้องทำให้กับการเรียนรู้ของการเขียนโปรแกรมจิตและอารมณ์ 4 กระบวนการ
ผู้รับ
กำจัด
การตัดสินใจ
การเรียนรู้
สิ่งนำเข้า (Input)
สิ่งกระตุ้นจากสิ่งแวดล้อมหรือจากตัวบุคคลและระดับมาสคอส
มโนทัศน์หลักการปรับตัวของรอย
(Metaparadigm)
ประกอบด้วย 4 ประเภท
การพยาบาล(Nursing)การพยาบาลเป็นการช่วยเหลือที่ให้กับแต่ละกลุ่มบุคคลในครอบครัว ชุมชนได้รับการดูแลจากพยาบาล ยิ่งไปกว่านั้นมีสิ่งที่จำเป็นตามมาและจัดการสิ่งแวดล้อมที่ไม่ได้รับเพื่อให้บรรลุซึ่งเงื่อนไขด้านสุขภาพและคุณภาพชีวิต
การประยุกต์ใช้ในการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
การประเมินพฤติกรรมของผู้ป่วย
การประเมินองค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการปรับตัวของผู้ป่วย
การกำหนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
บุคคล
( Person ) เป็นสิ่งมีชีวิตที่ประกอบด้วย ร่างกาย จิต สังคม ที่มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมตลอดเวลา เมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้นระบบการปรับตัวของบุคคล จะมีพฤติกรรมการตอบสนอง และเกิดกระบวนการควบคุมให้มีการปรับตัวทั้ง4ด้าน ดังนั้
การปรับตัวด้านอัตมโนทัศน์(Self-concept-mode)
การปรับตัวด้านบทบาทหน้าที่( Rolefunction-mode)
การปรับตัวด้านร่างกาย(Physiogical-mode)
การปรับตัวด้านการพึ่งพาซึ่งกันและกัน(Interdependent-mode)
สิ่งแวดล้อม ( Environment )เป็นสิ่งที่อยู่รอบๆ ตัวบุคคลทั้งภายนอก มีอิทธิพลต่อพัฒนาการและพฤติกรรมของบุคคล รอยเรียกสิ่งแวดล้อมนี้ว่าเป็น "สิ่งเร้า"
สิ่งเร้าแฝง
สิ่งเร้าตรง
สิ่งเร้าร่วม
สุขภาพ(Health) เป็นภาวะของบุคคลที่มีความมั่นคงและสมบูรณ์ ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม เป็นผลมาจากความสามารถในการปรับตัวของบุคคล การมีสุขภาพดีจึงหมายถถึงการที่บุคคลปรับตัวได้ดี
รอยได้แบ่งระดับความสามารถในการปรับตัวออกเป็น3ลักษณะ
ระดับบกพร่อง เป็นภาวะกระบวนการปรับตัวและชดเชยทำงานไม่เพียงพอ
ระดับปกติ เป็นภาวะที่โครงสร้างและหน้าที่ของร่างกายทำงานเป็นองค์รวม ตอบสนองความต้องการของบุคคลได้อย่างเหมาะสม
ระดับชดเชย เป็นภาวะที่กระบวนการชีวิตถูกรบกวนทำให้กลไกการควบคุมและการรับรู้ของระบบบุคคลถูกกระตุ้นให้ทำงงานเพื่อจัดการกับสิ่งเร้า