Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
B-17
Pneumonia, นศพต.ชิตวรรณ กรินทร์เฉลิม
นศพต.ณัฐนันท์ เครืออนันต์
…
B-17
Pneumonia
-
ประวัติผู้ป่วย
-
-
-
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
-โรคไขมันในเลือดสูง (Dyslipidemia)
-โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ ( Coronary artery disease :CAD) เป็นมานาน 10 ปี รักษาและรับยาที่โรงพยาบาลตำรวจ ทำPCI เมื่อวันที่ 28/10/65
-
-
-
ประวัติการใช้สารเสพติด
- เคยสูบบุหรี่มา 55 ปี เลิกเมื่อ 8 ปีที่แล้ว
- เลิกดื่มเหล้ามา 30 ปี
-
การตรวจร่างกายตามระบบ
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจพิเศษ
- 3/01/66 : Chest x-ray พบ : RLL infiltration (ปอดข้างซ้ายด้านบนมีของเหลวคั่งค้างอยู่ในถุงลมปอด )
- 3/01/66 : ผล EKG = Normal อัตราการหายใจ 63 ครั้ง/นาที
-
4/01/66
Electrolyte
- *Sodium(Na) = 135 mEq/L ต่ำกว่าค่าปกติ
(ค่าปกติ 135-145 mEq/L
- *CO2 = 18.9 mEq/L ต่ำกว่าค่าปกติ
(ค่าปกติ 23-30 mEq/L)
3/01/66
-
-
-
-
-
-
-
-
Test : Influenza A virus Ag = Negative
Test : influenza B virus Ag = Nagative
Test : Troponin T = 0.015 mg/dL ค่าสูงกว่าปกติ
(ค่าปกติ 0.0-0.1 นาโนกรัมต่อ Page 3 มิลลิลิตร )
-
-
-
-
-
-
-
-
-
ลักษณะทั่วไป
ผู้ป่วย ชายไทย อายุ 80 ปี รูปร่างสมส่วน ผิวขาว รู้สึกตัวดี อ่อนเพลีย หายใจเหนื่อยหอบ on cannula 3 Lpm ผู้ป่วยมีสีหน้าไม่สดชื่น บ่นเหนื่อยขณะให้การพยาบาล
-
ตรวจร่างกายในส่วนของระบบทางเดินหายใจโดยการฟังเสียงปอดด้วยการใช้ Stethoscope จะได้ยินเสียงกรอบแกรบ (tine or medium crepitations) และได้ยินเสียง rhonchi ร่วมด้วย
ทฤษฎี
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการของผู้ป่วย Pneumonia สามารถวินิจฉัยได้จาก
1.การตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (Complete blood count, CBC) เป็นการตรวจ WBC ในเลือด
2.การย้อมเสมหะ (Sputum)
3.การตรวจเสมหะเพาะเชื้อและการทดสอบความไวของเชื้อดื้อยา
4.การเพาะเชื้อจากเลือด (hemocuture) ได้แก่ เชื้อ Streptococcus pneumonia หรือ Haemophilis influenzae
พยาธิสภาพ
-
พยาธิสภาพ
เชื้อที่อยู่ในเสมหะหรือเมือกทางเดินหายใจส่วนต้นจะแพร่เข้าสู่ถุงลม ซึ่งในถุงลมจะมีกลไกการป้องกันเชื้อโรค โดยมีcilia ที่ช่วยในการพัดโบก , การไอเพื่อขจัดเชื้อในเสมหะหรือเมือกออกไป ถ้าร่างกายไม่มีกลไกดังกล่าว ปอดจะมีการอักเสบ โดยมีการสร้างน้ำและน้ำเมือกเพิ่มขึ้นบริเวณถุงลมและไหลเข้าสู่หลอดลมฝอย ทำให้เนื้อเยื่อที่ทำหน้าที่แลกเปลี่ยนออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ลดลง และขจัดเชื้อโรคไปยังต่อมน้ำเหลืองและกระแสเลือดออกนอกร่างกาย
จะมีเม็ดเลือดขาวและเม็ดเลือดแดงรวมตัวบริเวณที่มีการอักเสบมากขึ้น ทำให้บริเวณถุงลมแคบลงและแข็ง
น้ำและเมือกที่ติดเชื้อจะแพร่ไปยังปอด ทำให้ผู้ป่วยมีไข้ ไอ อาจมีเสมหะร่วมด้วย
พยาธิสภาพเทียบกับผู้ป่วย 📌
ผู้ป่วยมีประวัติเคยสูบบุหรี่นาน 55 ปี ในบุหรี่มีสารนิโคตินและสารเคมีอันตราย เมื่อก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์จากควันบุหรี่รวมกับHemoglobin ในเม็ดเลือดแดงในกระแสเลือดจะทำให้การส่งออกซิเจนไปยังเนื้อเยื่ออื่นๆถูกขัดขวาง และยังทำลายผนังถุงลมของปอดและเกิดไขมันพอกจับที่ผิวหลอดเลือด ทำให้เกิดการอุดตันในเส้นเลือด
พยาธิสรีรวิทยา : แบ่งออกเป็น 3 ระยะคือ
1.ระยะบวมคั่ง (Stage of Congestion or Edema)เมื่อเชื้อโรคเข้าสู่ปอดจะแบ่งตัวอย่างรวดเร็ว ร่างกายจะมีปฏิกิริยา ตอบสนอง มีโลหิตมาคั่ง ในบริเวณที่มีการอักเสบ หลอดโลหิตขยายตัว มีแบคทีเรีย เม็ดโลหิตแดง ไฟบริน และเม็ดโลหิตขาว(เป็นพวกนิวโตรฟิลและโฟลิมอร์ฟ)ออกมากินแบคทีเรียระยะน้ีกินเวลา 24-46ชั่วโมง หลังจากเชื้อโรคเข้าสู่ปอด
2.ระยะเน้ือปอดแข็ง(Stage 0f Consolidation) ระยะแรกจะพบว่า มีเม็ดโลหิตแดงและไฟบรินอยู่ในถุงลมเป็นส่วนใหญ่ หลอดโลหิตฝอยท่อผนังถุงลมปอดขยายตัวมากข้ึนทำให้เน้ือปอดสีแดงจัดคล้ายตับสด(Red heptization) ในรายท่ีมีการอักเสบรุนแรงจะมีการอักเสบลุกลามไปถึงเน้ือปอด
3.ระยะปอดฟื้นตัว (Stage of Resolution) เมื่อร่างกายสามารถต้านทานโรคไว้ได้ เม็ดโลหิตขาวสามารถทำลาย แบคทีเรียที่อยู่ในถุงลมปอดได้หมด จะมีเอนไซม์ออกมาละลายไฟบริน เม็ดโลหิตขาวและหนองจะถูกขับออกมาเป็นเสมหะมีลักษณะเป็นสีสนิมเหล็ก เพราะมีโลหิตค้างอยู่ เน้ือปอดมักกลับคืนสู่สภาพปกติได้ การ อักเสบที่เยื่อหุ้มปอดจะหายไปหรือมีพังผืดข้ึนแทน
สาเหตุ Pneumonia
สาเหตุของ Pneumonia
1.เชื้อแบคทีเรีย ซึ่งพบเป็นสาเหตุส่วนใหญ่ของโรคน้ี ที่พบบ่อยและรักษาได้ง่ายได้แก่ Pneumococcus ที่พบ น้อยแต่ร้ายแรงได้แก่เชื้อ Staphylococcus Streptococcus Klebsiella
2.เชื้อไวรัสเช่น หัด ไข้หวัดใหญ่ อีสุกอีใส ฯลฯ
3.เชื้อไมโคพลาสมาซึ่งทำให้เกิดปอดอักเสบชนิดท่ีเรียกว่า Atypical Pneumonia เพราะมักไม่มีอาการหอบอย่างชัดเจน
4.เชื้อราพบได้ค่อนข้างน้อยแต่รุนแรง
5.เชื้อโปรโตซัวเช่น Pneumosystis carini ที่พบในผู้ป่วยโรคเอดส์
6.สารเคมีท่ีพบบ่อยได้แก่น้ำมันก๊าด ซึ่งผู้ป่วยสำลักเข้าไปในปอด
- ผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัวเรื้อรัง ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคไต
- ผู้ป่วยที่อายุมากกว่า 65 ปี
สาเหตุที่พบในผู้ป่วย
- ผู้ป่วยดื่มสุรา สูบบุหรี่นาน 55 ปี
- ผู้ป่วยอายุ 80 ปี มีภูมิคุ้มกันโรคต่ำ
- ผู้ป่วยมีประวัติเป็นโรคไขมันในเลือด (DLP) โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ( CAD) ได้รับการรักษาด้วยยา และทำ PCI ที่โรงพยาบาลตำรวจ เมื่อวันที่ 28/10/65
โรคที่ทำให้เกิด
โรคหัวใจ โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง โรคถุงลมโป้งพอง
โรคเอดส์ โรคหลอดลมพอง โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง โรคหืดเรื้อรัง โรคไตเรื้อรัง โรคตับแข็ง โรดพิษสุราเรื้อรัง ฟันผุ เหงือกเป็นหนอง เป็นต้น ผู้ป่วยกลุ่มนี้จำเป็นต้องได้รับยาหลายชนิดในเวลา เดียวกัน จนบางครั้งอาจรับยามากเกินความจำเป็นและยาบางตัวเป็นยากคภูมิคุ้มกันของร่างกายที่ใช้ กับผู้ป่วยที่ได้รับการปลูกถ่ายอวัยวะ รวมทั้งการมีพยาธิสภาพหลายๆอย่างเกิดขึ้นในเวลาเดียวกัน จึง ส่งผลให้สุขภาพ โดยรวมทรุดลง ทำให้ผู้ป่วยสูงอายุมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคปอด อักเสบได้
การรักษา
การรักษาโรคปอดอักเสบแพทย์จะทำการพิจารณารักษาตามอาการและสาเหตุเป็นหลัก หากเป็นปอดอักเสบที่เกิดจากการติดเชื้อ แพทย์จะให้รับประทานยาฆ่าเชื้อ
อาการและอาการแสดง
ทฤษฎี
- อาการของปอดบวมที่สาคัญ ได้แก่ มีไข้ ไอ เจ็บหน้าอก และหอบเหนื่อย ซึ่งอาการเหล่านี้อาจมีไม่ครบทุกอย่างก็ได้
- บางรายอาจมีอาการ ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ เจ็บคอ ปวดท้อง เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ร่วมอยู่ด้วย
- ผู้สูงอายุ อาจมีอาการซึม สับสน และไม่มีไข้
อาการและอาการแสดงที่พบในผู้ป่วย
- มีไข้ หายใจหอบเหนื่อย ขณะทำกิจกรรม
- มีภาวะหัวใจล้มเหลว(Heart failure)และภาวะน้ำเกินในร่างกาย
หน้าที่ : ปอดทำหน้าที่ เป็นส่วนที่มีการแลกเปลี่ยนก๊าซรับเอาก๊าซออกซิเจนจากลมหายใจเข้าร่างกายเพื่อไปสู่อวัยวะต่างๆใช้ผลิตพลังงาน เเละกำจัดคาร์บอนไดออกไซด์
การพยาบาล
- ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง โดยการสอนวิธีการไออย่างมีประสิทธิภาพ
- ดูแลให้ได้รับออกซิเจนเพียงพอ ตามแผนการรักษาของแพทย์ on cannula 3 Lpm
- วัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง สังเกตและบันทึกอัตราการหายใจ เพื่อประเมินภาวะการหายใจ
- จัดให้นอนท่า Fowler’s position เพื่อให้ปอดขยายตัวได้ดีขึ้น
- ให้ยาปฏิชีวะนะจากการติดเชื้อจากแบคทีเรีย on CEF-3 IV.2 GM. INJ. 2 gm iv OD , ให้ AZITHROMYCIN 250 MG. CAP. รับประทานครั้งละ 2 เม็ด วันละ 1ครั้ง หลังอาหาร
- ดูแลภาวะโภชนาการ เป็นอาหารอ่อน ลดเค็ม
- เฝ้าระวังการพลัดตกหกล้มขณะผู้ป่วยทำกิจกรรม
- ติดตามผล CBC,BUN,Cr
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
-
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 2 : ผู้ป่วยเสี่ยงต่อภาวะเนื้อเยื่อของร่างกายพร่องออกซิเจนเนื่องจากประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนก๊าซที่ปอดลดลงจากพยาธิสภาพของโรคปอดอักเสบ
ข้อมูลสนับสนุน
- ผู้ป่วยสูงอายุ อายุมากกว่าหรือเท่ากับ 60 ปี ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคปอดอักเสบ
- ผล chest x-ray พบRLL infiltration (ปอดข้างซ้ายด้านบนมีของเหลวคั่งค้างอยู่ในถุงลมปอด )
- ผู้ป่วย on O2 canular
- วัดความอิ่มตัวของออกซิเจนในเนื้อเยื่อขณะไม่ได้ใส่ O2 canular ได้น้อยกว่า 95%
- ฟังปอดได้ยินเสียง rhonchi crepitation หรือ wheezing
- ผู้ป่วยหายใจหอบ เหนื่อยง่าย
เกณฑ์การประเมินผล
- ร่างกายได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ ไม่เกิดภาวะพร่องออกซิเจน
- ผล chest x-ray ไม่พบ infiltration
- ไม่มีภาวะพร่องออกซิเจน เช่น หายใจหอบ เหนื่อยง่าย
- ฟังปอดไม่ได้ยินเสียง rhonchi crepitation หรือ wheezing
- ผู้ป่วยมีทางเดินหายใจโล่ง ไม่หายใจหอบเหนื่อยง่าย
-
กิจกรรมการพยาบาล
- ประเมินภาวะพร่องออกซิเจน อัตราการหายใจ ปลายมือปลายเท้าเขียวคล้ำเยื่อบุผิวหนังมี ลักษณะการซีดเขียว ระดับความรู้สึกตัวและประเมินความเข้มข้นของออกซิเจนในเลือด ทุก 4 ชั่วโมง
- ประเมินและบันทึกสัญญาณชีพ vital sign วัดระดับ O2 saturation ทุก 4 ชั่วโมง เพื่อประเมิน ระดับความรู้สึกตัวและติดตามภาวะพร่องออกซิเจนของผู้ป่วย
- ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา เพื่อป้องกันการขาดออกซิเจน
- สอนการหายใจที่มีประสิทธิภาพ (deep breathing exercise) โดยการจัดท่าให้นอนศีรษะสูง 30 องศา มือวางบนตักหายใจเข้าทางรูจมูกช้าๆให้เต็มปอด นับ 1-10 กลั้นลมหายใจ 2-3 วินาที แล้วจึงหายใจออกทางปากช้าๆโดยห่อปากเล็กน้อย
- ฟังเสียงปอดเป็นระยะๆเพื่อประเมินการหดรัดตัวที่ผิดปกติของหลอดลมและดูแลทำกายภาพบาบดั ทางเดินหายใจ (chest physical therapy)
- ในกรณีผู้ป่วยท่ีใส่เคร่ืองช่วยหายใจ ดูแลให้เครื่องช่วยหายใจทางานอย่างมีประสิทธิภาพ โดย เริ่มตั้งแต่จัดท่านอนให้ศีรษะสูง 3 0 องศาตรวจสอบตำแหน่งของท่อช่วยหายใจอย่างน้อยเวรละ 1 ครั้งเติมลมใน cuff pressure ให้ได้ความดัน 30 เซนติเมตรน้ำทุก 8 ชั่วโมง
-
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 4 : ผู้ป่วยมีความทนในการปฏิบัติกิจกรรมลดลงเนื่องจากหายใจเหนื่อยง่ายและอ่อนเพลีย
ข้อมูลสนับสนุน
1.ผู้ป่วยมีอาการหายใจลำบากขณะทำกิจกรรม
2.ผู้ป่วยมีอาการเหนื่อยง่ายในขณะที่เคลื่อนไหวและทำกิจกรรมต่างๆได้ลดลง
3.ผู้ป่วยมีโรคประจำตัวคือ โรคหัวใจ
-
เกณฑ์การประเมินผล
1.ผู้ป่วยสามารถดูแลตนเองเกี่ยวกับการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้
2.ผู้ป่วยมีส่วนร่วมและเต็มใจในการทำกิจกรรม
3.ผู้ป่วยไม่มีอาการเหนื่อยหอบ ไม่อ่อนเพลีย
กิจกรรมการพยาบาล
- ประเมินความสามารถในการดูแลตนเองของผู้ป่วยและการทำกิจวัตรประจำวันในแต่ละวัน พร้อมทั้ง บันทึกอาการอ่อนเพลีย
- อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติเข้าใจถึงการเกิดของโรค สาเหตุ และปัจจัยท่ีเกี่ยวข้องที่ทำให้อาการ ของผู้ป่วยดีข้ึนหรือแย่ลงเพื่อให้การรักษาเป็นไปในแนวทางเดียวกัน
- กระตุ้นให้ผู้ป่วยดูแลช่วยเหลือกิจกรรมตนเองให้ได้มากที่สุดในเรื่องการล้างหน้าแปรงฟัน ช่วยเช็ดตัวพลิกตะแคงตัวบ่อยๆการลุกนั่งบนเตียงให้ได้มากที่สุดเท่าที่ผู้ป่วยสสามารถทำได้
- จัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม ปลอดภัยในการทากิจกรรมต่างๆ และไม่มีคนพลุกพล่าน
- ประเมินและตรวจวัดสัญญาณชีพก่อนและหลังจากทำกิจกรรมต่างๆหลงัจากเช็ดตัวล้างหน้าแปรงฟัน ออกกำลังกาย ดูแลตรวจวัดชีพจร อัตราการหายใจ ดูแลระดับ O2 saturation
-
อาหารที่ควรแนะนำ
- แอปเปิล มีวิตามินซีและเส้นใยสูง มีเบต้าแคโรทีน หรืออนุมูลอิสระที่มีชื่อว่าเคอร์ซิทีน ช่วยลดความเสี่ยงโรคมะเร็งปอด
- แครอท มีเบต้าแคโรทีนสูงเช่นกัน และมีปริมาณวิตามินเอสูงมาก ซึ่งช่วยป้องกันอาการหอบหืด
- รังนก มีสรรพคุณช่วยบำรุงปอด เสริมพลัง และยังช่วยในการช่วยละลายเสมหะ
- ขิง ขิงเป็นสมุนไพรที่ดีต่อระบบทางเดินหายใจ โดยเฉพาะกับคนที่มักจะมีปัญหาเสมหะบ่อยๆ
- กระเทียม สรรพคุณเด่น คือ ต้านการอักเสบ และมีสารต้านอนุมูลอิสระที่ชื่ออัลลิซิน (Allicin)
- ชาดำ ชาดำมีคาเฟอีนอยู่จำนวนไม่น้อย ควรเลือกดื่มชาใบสน เพราะมีสรรพคุณช่วยฆ่าเชื้อแบคทีเรียในช่องปากและลำคอ
- บรอกโคลี วิตามินซีสูงและอุดมไปด้วยวิตามินบี 5 ที่มีคุณสมบัติทดแทนการสูญเสียวิตามินซีจากการสูบบุหรี่
-