Congestive Heart failures

ยาที่ใช้ในการรักษา

  1. การซักประวัติ

LOSARTAN 50 MG TAB=1

ยากลุ่ม ARB มีผลต้านฤทธิ์ของแองจิโอเทนซิน 2 โดยการปิดกั้นตัวรับแองจิโอเทนซิน 2 ชนิดที่ 1 (angiotensin II receptors, type 1)ส่งผลให้หลอดเลือดเกิดการ ขยายตัว (vasodilation) ลดความต้านทานของหลอดเลือดส่วนปลาย (peripheral vascular resistance) ลดการทำงานของระบบประสาทซิมพาเธติก (sympathetic activity) ลดการ หลั่งฮอร์โมนอัลโดสเตอโรน (aldosterone) และชะลอการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างของ หัวใจ (cardiac remodeling)

BISOPROLOL 5 MG TAB=1

FUSEROMINE

ใช้ในการรักษาผู้ป่วยการหัวใจล้มเหลว อาการคั่งของเลือดและสารน้ำ (Congestion) เนื่องจากยามีฤทธิ์กับเกลือและน้ำออกจาก ร่างกาย จึงเป็นการช่วยลดอาการบวมน้ำ (edema) และลดอาการหายใจหอบเหนื่อย (dynpnea) ให้กับผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว ทั้งนี้เป้าหมายของการรักษาผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวด้วยยาขับปัสสาวะไม่ใช่เพียงแค่เพิ่มการขับเหงื่อและน้ำออกทางปัสสาวะเท่านั้นแต่เป็นการปรับสมดุลย์เกลือและน้ำในร่างกายและลดปริมาณน้ำที่อยู่นอกเซลล์

Chief complaint

Present illness

ยากลุ่ม beta-blocker ถือเป็นหนึ่งในยาหลักที่ใช้รักษาผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว ชนิดการบีบตัวของหัวใจห้องล่างซ้ายลดลง โดยมีหลักฐานทางคลินิกสนับสนุนว่า ยาไบโซโพรลอล ยาคาร์วีดิลอล และยาเมโทโพรลอลซักซิเนต สามารถลดอัตราการเสียชีวิต (mortality) และอัตราการนอนโรงพยาบาล (hospitalization) ให้กับผู้ป่วย นอกจากนี้ ยากลุ่ม beta-blocker ยังช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของหัวใจห้องล่างซ้าย (left ventricular function) และเพิ่มสมรรถภาพหัวใจต่อความสามารถในการออกกำลังกาย (exercise capacity) ให้กับผู้ป่วยได้ในระยะยาว

DOBUTAMINE

เป็นยาที่ออกฤทธิ์ช่วยให้หัวใจสามารถสูบฉีดเลือดได้ดียิ่งขึ้น ซึ่งจะช่วยกระตุ้นกล้ามเนื้อหัวใจและเพิ่มการไหลเวียนโลหิต นำมาใช้รักษาภาวะหัวใจวายเฉียบพลัน

การวินิจโรคแรกรับ

อาการแรกรับ

2 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล : เหนื่อยมากขึ้นนอนราบไม่ได้ จึงมาโรงพยาบาล

Acute decompensated heart failure

รับประทานครั้งละครึ่งเม็ดวันละ 1 ครึ่ง หลังอาหารเช้า

รับประทานครั้งละครึ่งเม็ดวันละ 1 ครึ่ง หลังอาหารเช้า

1 สัปดาห์ก่อนมาโรงพยาบาล : เริ่มมีอาการเหนื่อยมากขึ้นขณะออกแรง พักแล้วดีขึ้น มีขาบวม ท้องบวมมากขึ้น กินได้น้อยลง อ่อนเพลีย ไม่มีแน่นหน้าอก ปัสสาวะน้อยลง
2 วันก่อนมาโรงพยาบาล : ไอมากขึ้นตอนกลางคืน ไม่มีเสมหะ ไม่มีไข้
15 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล : หายใจเหนื่อยมากขึ้น นอนราบไม่ได้ ญาติบอกว่ามีหายใจแรง แล้วหายใจหลังจากนั้นต้องนั่งหลับ
2 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล : เหนื่อยมากขึ้น จึงมาโรงพยาบาล

ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี ถามตอบรู้เรื่อง หายใจroom air ไม่มีหอบเหนื่อย on injection plug at Lt hand ผู้ป่วยช่วยเหลือตนเองได้ void เองได้

Part illness

โรคความดันโลหิตสูง(hypertension) ,DM ~1-2 ปี
ลิ้นหัวใจไมทรัลรั่ว ,โรคไขมันในเลือดสูง(DLP) ,Chronic HBV ,Globall wall hypokalemia
HF with EF 48%

ประวัติการผ่าตัด

ผ่าตัดเส้นเอ็น at caribbean เมื่อ 10 ปีที่แล้ว

2.การตรวจร่างกาย

ผิวหนังและเล็บ (skin and nails)

คลำ : -ขาทั้งสองข้างบวมกดบุ๋ม2+
-capillary refill 3 วินาที

หัวใจและหลอดเลือด (caidio and vascular)

คลำ : ไม่พบความผิดปกติ
ฟัง : -Pulse rate เต้นแรงดี สม่ำเสมอ
-ไม่พบเสียง gallop rhythm

ทรวงอกและปอด (Thorax and Lung)

ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล

ดู : หายใจปกติ ไม่มีหอบเหนื่อย
คลำ :ปอดขยายตัวปกติ
ฟัง : เสียง crepitation

ระบบประสาท(Neurological system)

ดู : รู้สึกตัวดี พูดคุยได้ โต้ตอบรู้เรื่อง

3.ตรวจทางห้องปฏิบัติการ

  • BUN 16.6 mg/dL (อยู่ในเกณฑ์ปกติ)
  • Creatinine 0.92 mg/dL (อยู่ในเกณฑ์ปกติ)
  • eGFR(by CKD-EPI) 101.51 mL/min/1.73m2 (อยู่ในเกณฑ์ปกติ)

Electrolyte

วันที่ 3 มกราคม 66

  • Troponin-T 0.024 ng/mL (ค่าสูงกว่าเกณฑ์ปกติ) แปลผล ผู้ป่วยมีภาวะหัวใจขาดเลือด
  • NT-pro BNP 8,619.000 แปลผล มีโอกาสเป็นโรคหัวใจล้มเหลวสูง

การตรวจพิเศษ

การตรวจ EKG

ตรวจระดับน้ำตาลในกระแสเลือดDTX

ตรวจภูมิคุ้มกันโรค HBV

Problem list

3.ร่างกายได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ เนื่องจากประสิธิภาพหัวใจสูบฉีดเลือดได้ลดลง

1.ความทนต่อการทำกิจกรรมลดลงเนื่องจาก cardiac output ลดลง

2.มีภาวะน้ำเกินในร่างกายเนื่องจากการทำงานของหัวใจไม่มีประสิทธิภาพ

4.การปฏิบัติตัวไม่เหมาะสมกับภาวะความเจ็บป่วย เนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรค

  • Sodium(Na) 132 mmol/L (ค่าต่ำกว่าเกณฑ์ปกติ)
  • Potassium K 4.11 mmol/L (อยู่ในเกณฑ์ปกติ)
  • Chloride 96 mmol/L (ค่าต่ำกว่าเกณฑ์ปกติ)
  • CO2 27.2 mmol/L (ค่าอยู่ในเกณฑ์ปกติ)

1.ร่างกายได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ เนื่องจากประสิทธิภาพการทำงานของหัวใจลดลง

มีภาวะน้ำเกินเนื่องจากหัวใจทำงานผิดปกติ

5.วิตกกังวลเกี่ยวกับความเจ็บป่วย รู้สึกไม่แน่นอนในชีวิตในการปฏิบัติบทบาทต่างๆ

กิจกรรมการพยาบาล

ประเมินสัญญาณชีพ โดยเฉพาะค่า oxygen saturation

ประเมินภาวะ Cyanosis คือ การหายใจเหนื่อยหอบ ริมฝีปากเล็บมือเล็บเท้าไม่มีสีเขียวคล้ำ

กิจกรรมการพยาบาล

ประเมินอาการและอาการแสดงภาวะน้ำคั่งในร่างกาย เช่น การบวมกดบุ๋ม

ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาขับปัสสาวะตามแผนการรักษา Lasix 80 mg IV stat

บันทึกสารน้ำเข้าออกทุก 8 ชั่วโมง

ติดตามสัญญาณชีพพร้อมทั้งสังเกตผลข้างเคียงจากยาขับปัสสาวะ

จำกัดปริมาณ sodium

นศพต.วรดา เรืองดำ เลขที่ 49
นศพต.วิภาดา สิงหวิบูลย์ เลขที่ 53
นศพต.ศรัณยู สมหน่อ เลขที่ 57

SPIRONOLACTONE 25 MG TAB

Case เตียง B-22

CESOLINE W 25 MG TAB

ISOTRATE 10 MG TAB

รับประทานวันละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง หลังอาหารเช้า

รับประทานครั้งละ 1 เม็ดครึ่งวันละ 3 ครั้งหลังอาหารเช้า กลางวัน เย็น

รับประทานครั้งละ 1 เม็ดครึ่ง วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า กลางวัน เย็น

กลุ่มยา

Diuretics

ภาวะหัวใจล้มเหลว(Congestive heart failure: CHF)

ความหมายของภาวะหัวใจล้มเหลว

ภาวะหัวใจวายหรือหัวใจล้มเหลว คือ ภาวะที่หัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงอวัยวะและเนื้อเยื่อต่างๆได้เพียงอที่จะสนองการเผาผลาญในร่างกายได้ปกติเนื่องจากพยาธิสภาพทำให้กลไกการชดเชยไม่สามารถทำงานต่อไปได้หรือทำได้ไม่เพียงพอ

ข้อควรระวัง/ข้อห้ามใช้

1.ผู้ที่แพ้ยา furosemide

สาเหตุ

ภาวะที่หัวใจทำงานผิดปกติ
การทำงานของหัวใจเพิ่มขึ้นจากปริมาตรมากเกินไป
(volume overload)ความผิดปกติที่ทำให้เพิ่มปริมาตรก่อนหัวใจบีบตัว ได้แก่ ลิ้นหัวใจรั่ว ปริมาตรของเลือดในระบบไหลเวียนมากเกินไป(hypervolemia)ความพิการของหัวใจแต่กำเนิด

2.ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีปัสสาวะน้อยผิดปกติ

3.ผู้ที่มีภาวะ hepatic coma หรือพาวะขาดน้ำอย่างรุนแรง

กลุ่มยา

Beta blocker

ข้อควรระวัง/ข้อห้ามใช้

ลิ้นหัวใจรั่ว(Heart Valve Regurgitation)
คือโรคที่เกิดความผิดปกติของลิ้นหัวใจที่ทำให้ลิ้นหัวใจผิดไม่สนิท เป็นสาเหตุทำให้เลือดไหลย้อนกลับ หัวใจจึงต้องทำงานหนักเพื่อสูบฉีดเลือดให้เพียงพอ

หัวใจเต้นช้า

โรคลิ้นหัวใจไมตรัลรั่ว(mitral regurgitation)

กลุ่มยา

Potassium-SparingDiuretics

ใช้รักษาอาการบวมน้ำหรือภาวะน้ำเกินในผู้ป่วยภาวะหัวใจวาย ความดันโลหิตสูงและ ช่วยป้องกันภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่ำ

พยาธิสรีรวิทยา

การรั่วของลิ้นหัวใจไมตรัลทำให้เลือดคั่งอยู่ใน Left ventricle อย่างมาก รวมทั้งทำให้ความดันเลือดใน Left ventricle สูงขึ้น และมีผลทำให้ Left atrium มีขนาดใหญ่ขึ้น


Left ventricle ในการรั่วของลิ้นหัวใจไมตรัลจะค่อยๆมีขนาดใหญ่ขึ้นแตกต่างจาก Left ventricle จะมีขนาดเล็กหรือปกติในลิ้นหัวใจไมตรัลตีบซึ่งเกิดเลือดคั่งอยู่ใน Left atrium จะทำให้ปริมาณเลือดใน Left ventricle ค่อยๆมากขึ้น แต่เลือดที่ออกจาก ventricle ไปยัง aorta มีน้อยกว่าปกติทำให้เกิดภาวะ low cardiac output

ใช้บรรเทาอาการเจ็บหน้าอก (angina) ที่เกิดขึ้นแบบฉับพลัน รวมทั้งใช้รักษา angina pectoris ระยะยาวเพื่อเป็นการป้องกัน

ข้อควรระวัง/ข้อห้ามใช้

ห้ามใช้กับผู้แพ้ยา nitries หรือ nitrates โลหิตจางอย่างรุนแรงและต้องระมัดระวังในการใช้ยานี้กับหญิงมีครรภ์ มารดาให้นมบุตร

อาการข้างเคียง

ปวดศีรษะ มึนงง อ่อนเพลีย กระสับกระส่าย ใจสั่น ความดันโลหิตต่ำ คลื่นไส้อาเจียน ซีด ผิวมีผื่น

ชนิดของลิ้นหัวใจไมตรัลรั่ว
ชนิดฉับพลัน(acute fulminating) เกิดการรั่วอย่างทันทีทันใดเนื่องจากลิ้นหัวใจมีการทะลุหรือมีการฉีกขาดของ chordae tendineae เช่นเกิดจากลิ้นหัวใจไมตรัลโป่งยื่น(mitral valve prolape)เป็นต้น ผู้ป่วยกลุ่มนี้จะมีอาการของ Congestive heart failure มี acute pulmonary oedema หรืออาจรุนแรงถึงขั้น caridiogenic shock และ low cardiac output อย่างรุนแรงได้

การตรวจวินิจฉัย

ตรวจด้วยเครื่องคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูงของหัวใจ(echocardiography)เหมือนกับในลิ้นหัวใจไมตรัลตีบ โดยข้อมูลที่สำคัญคือ สาเหตุและบริเวณที่มีการรั่ว การทำงานและขนาดของ Left ventricle

การรักษา

1.รักษาโดยวิธีเภสัชกรรม

2.การผ่าตัดลิ้นหัวใจรั่วของลิ้นไมตรัล

ข้อบ่งชี้
-การรั่วของลิ้นหัวใจไมตรัลที่มีอาการเฉียบพลัน
-การรั่วของลิ้นหัวใจไมตรัลร่วมกับการเสื่อมการทำงานของหัวใจห้องซ้ายล่าง

6.เนื้อเยื่อได้รับเลือดไม่เพียงพอเนื่องจากปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจต่อนาทีลดลง low cardiac output จากประสิทธิภาพก่ีบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจลดลงจากการมีพยาธิสภาพที่หลอดเลือดหัวใจและภาวะล้มเหลว

การผ่าตัดลิ้นหัวใจ

-ลิ้นหัวใจที่ทำด้วยโลหะหรือพลาสติก (Mechanical or prosthetic valve)
-ลิ้นหัวใจบางส่วนที่ทำจากพลาสติกหรือโลหะและส่วนหนึ่งมาจากเยื่อหุ้มหัวใจวัว หรือลิ้นหัวใจหมู (Bioprothetic or tissue valve)
ลิ้นหัวใจที่ได้จากบุคคลอื่น (Homograft)ถือเป็นการปลูกถ่ายอวยัวะ

พบ u wave

พยาธิสภาพ

หัวใจข้างช้ายล้มเหลว เกิดจากกล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างชายบีบตัวลดลงส่วนใหญ่เกิดจากภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตาย ทำให้เนื้อเยื่อของร่างกายได้รับเลือดไปเลี้ยงไม่เพียงพอเมื่อหัวใจห้องล่างช้ายบีบตัวลดลง จะทำให้ปริมาตรเลือดที่ออกจากหัวใจลดลง จะส่งผลให้เลือดเหลือค้างในหัวใจห้องล่างช้ายมากขึ้น ความดันเลือดในหัวใจห้องล่างช้ายจึงสูงขึ้น
ดังนั้นหัวใจห้องบนช้ายจึงบีบเลือดส่งมายังหัวใจห้องล่างช้ายน้อยลง ปริมาตรเลือดและความดันเลือดในหัวใจห้องบนช้ายจึงสูงขึ้นเรื่อย ๆ เลือดจากปอดที่ฟอกแล้วก็จะไหลเข้าสู่หัวใจห้องบนชายได้น้อยลง เป็นผลให้ความดันเลือดในหลอดเลือดฝอยที่ปอดสูงขึ้น เมื่อแรงดันของของเหลวในหลอดเลือดฝอยที่ปอดสูงขึ้น ทำให้ของเหลวออกจากหลอดเลือดฝอยที่ปอดเข้าสู่ถุงลม ทำให้ผู้ป่วยมีภาวะน้ำท่วมปอด หอบเหนื่อย ไอ และเขียว

หัวใจข้างขวาล้มเหลว เกิดจากกล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างขวาไม่สามารถสูบฉีดเลือดไปฟอกที่ปอดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งมักเกิดจากแรงดันในหลอดเลือดฝอยที่ปอดสูงขึ้นและกล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างขวาตายภาวะหัวใจข้างขวาล้มเหลวมักเกิดภายหลังจากหัวใจห้องล่างซ้ายล้มเหลว เมื่อหัวใจห้องล่างขวาบีบตัวลดลงจะทำให้เลือดที่ส่งไปฟอกที่อดลดลง และเลือดจากปอดจะส่งไปยังหัวใจห้องล่างช้ายลดน้อยลง ส่งผลให้ปริมาตรเลือดที่หัวใจบีบออกไปเลี้ยงร่างกายลดลงด้วย ผู้ป่วยจะมีอาการผิดปกติทั้งในระบบหัวใจและ
หลอดเลือด สมอง กล้ามเนื้อ และระบบปัสสาวะ เช่นเดียวกับหัวใจห้องล่างซ้ายล้มเหลว เมื่อหัวใจห้องล่างขวาบีบตัวลดลง ทำให้ปริมาตรเลือดค้างในหัวใจห้องล่างขวามากขึ้น ส่งผลให้ความดันในหัวใจห้องล่างขวาเพิ่มขึ้น และในที่สุดจะมีผลกระทบต่อการไหลเวียนของเลือดดำทั่วร่างกาย เนื่องจากมีภาวะน้ำคั่งทำให้ผู้ป่วยมีอาการบวม ตับและม้าม โต ลำไส้บวมจนมีอาการจุกแน่นได้ชายโครง มีอาการเบื่ออาหารท้องมาน หลอดเลือดดำ ที่คอโป่งพอง และปัสสาวะบ่อยตอนกลางคืน (Noctuna)

อาการและอาการแสดงจากทฤษฎี

หัวใจห้องล่างซ้ายล้มเหลว

หัวใจข้างซ้ายล้มเหลว มีอาการหัวใจเต้นเร็ว การเต้นของชีพจรเบาบ้างแรงบ้างสลับกัน(Pulsus altemans) ผิวหน้าเย็นและขึ้นเนื่องจากหลอดเลือดหดตัวความดัน
Systolic ลดลง แต่ความดัน Diastolic กสูงขึ้น ฟังหัวใจได้ยินเสียงสาม (S)หรือเสียงคล้ายม้าควบ (Gallop rhythm) จะได้ยินชัดเจนบริเวณลิ้นไมตรัลเสียงนี้เกิดจาก เช่น กระสับกระส่าย สับสน ความจำเสื่อม ฝันร้าย วิตกกังวล นอนไม่หลับ งุนงง เป็นลม หมูดสติ เป็นต้น มีอาการเหนื่อยล้า
กล้ามเนื้ออ่อนแรงไม่สามารถทำกิจกรรมต่าง ๆ ได้ตามปกติ อาการที่แสดงออกแบ่งเป็น 4 ระดับ คือ

กลุ่มยา

Inotropes

ระดับที่ 1 ไม่มีอาการผิดปกติ ทนต่อการทำกิจกรรมของร่างกายในแต่ละวันได้ดี

ระดับที่ 2 สุขสบายเมื่อพัก แต่ถ้ามีกิจกรรมตามปกติจะเกิดอาการของภาวะหัวใจวาย

ระดับที่ 3 สุขสบายเมื่อพัก แต่ถ้ามีกิจกรรมตามปกติเพียงเล็กน้อยจะเกิดอาการของภาวะหัวใจวาย

ระดับที่ 4 แม้ขณะพักก็มีอาการของภาวะล้มเหลว มีปัสสาวะออกน้อย (oliguria)มีอาการเหนื่อยง่ายเมื่อออกแรง (Dyspnea on exertion) หอบในท่านอนราบ (Orthopnea) หอบเป็นพักๆช่วงกลางคืน (Paroxysmal nocturnal dyspnea; PND) อาจมีอาการหายใจแบบเช่นสโต๊ก (Cheyne-Stokes respiration ซึ่งเป็นลักษณะการห่ายใจช้าแล้วหายใจเร็วขึ้นเรื่อย ๆจากนั้นจึงค่อยๆช้าลงจนหยุดหายใจชั่วครู่แล้วเริ่มหายใจใหม่ มีภาวะปอดบวมน้ำ (Pulmonary edema)ทำให้มีอาการหอบเหนื่อยร่วมกับมีเส้มหะเป็นฟองสีชมพู ฟังเสียงหายใจ (Creptation) ชัดเจน มีอาการได้ยินเสียงหวีด (wheeze) และเสียงกรอบแกรบ ไออาจมีเลือดปน อาจมีอาการเขียวคล้ำ

กลุ่มยา

Nitrate

อาการข้างเคียง

ปวดหัว

คลื่นไส้

ข้อมสนับสนุน

ผู้ป่วยมีอาการเหนื่อยนอนราบไม่ได้

ผู้ป่วยบอกเหนื่อยมากขึ้นขณะออกแรง

ฟังปอดได้ยินเสียง Crepitation

วัตถุประสงค์

เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการแลกเปลี่ยนก๊าซ

เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนเพียงพอ

เกณฑ์การประเมิน

ผู้ป่วยไม่มีหอบเหนื่อย สามารถนอนราบได้

ผู้ป่วยไม่มีภาวะ Cyanosis

ค่า Oxygen saturation >95%

ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาตามแผนการรักษา
-Dobutamine ยาเพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจ
-Isotrate ยาขยายหลอดเลือด บรรเทาอาการเจ็บหน้าอก
-Cesoline ยาขยายหลอดเลือด
-bisoporal ยาเพิ่มอัตราการบีบตัวของหัวใจ

จัดท่านอนศีรษะสูง เพื่อให้มีประสิทธิภาพการทำงานของปอดได้เต็มที่

ประเมินผล

ผู้ป่วยไม่มีเหนื่อยหอบ สามารถนอนราบได้

ค่า oxygen saturation 96-100%

ผู้ป่วยมีความทนในการทำกิจกรรมลดลงเนื่องจากประสิทธิภาพหัวใจสูบฉีดเลือดได้น้อยลง

ข้อมูลสนับสนุน

ผู้ป่วยหายใจลำบาก

น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น (53กิโลกรัม เป็น 56 กิโลกรัม)

ข้อมูลสนับสนุน

ผู้ป่วยเหนื่อยเมื่อพูดเป็นเวลานาน

ผู้ป่วยบอกเหนื่อยเมื่อทำกิจกรรม

ขาบวมกด บุ๋ม 3+

ผู้ป่วยมี underlying เป็น ลิ้นหัวใจรั่ว

วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์

ผู้ป่วยมีสมดุลของน้ำและเกลือแร่

ผู้ป่วยมีความทนต่อกิจกรรมในระดับปานกลางถึงมาก โดยไม่มีอาการหายใจลำบาก เจ็บปวด หรือหัวใจเต้นผิดปกติ

เพื่อให้ผู้ป่วยสุขสบายจากอาการหอบเหนื่อยลดลง

ลดอาการขาบวม

ผู้ป่วยไม่เหนื่อยจนเกินไป

เกณฑ์การประเมิน

เกณฑ์การประเมินผล

ปริมาณน้ำเข้าเท่ากับน้ำออกจากร่างกาย (intake-output หรือ intake<output )

มีความทนต่อกิจกรรมเพิ่มขึ้นตามคสามสามารถ โดยไม่มีอาการหายใจลำบาก หรือเหนื่อยล้ามากเกิน

ชีพจร อัตราการหายใจ ความดันโลหิต ขณะทำกิจกรรมและหลังทำกิจกรรม อยู่ในเกณฑ์ปกติ ยอมรับได้

น้ำหนักอยู่ในเกณฑ์ตามต้อง
การ

สามารถปฏิบัติกิจกรรมที่ต้องการหรือการดูแลตนเองได้รับการตอบสนอง

อาการบวมตามแขนขาลดลง

กิจกรรมการพยาบาล

วางแผนกับผู้ป่วยถึงกิจกรรมที่ควรทำค่อยๆเพิ่มกิจกรรมหรือลดกิจกรรมที่ไม่เหมาะสม

ประเมืนสัญญาณชีพและติดตามการตอบสนองระบบไหลเวียนเลือด และปอดต่อการทำกิจกรรม ก่อนและหลังการทำกิจกรรม สังเกตอาการหัวใจเต้นเร็ว หัวใจเต้นผิดจังหวะ หายใจลำบาก

จัดกิจกรรมในช่วงที่ร่างกายมีการใช้ออกซิเจนไม่มาก

การประเมินผล

กระตุ้นให้ผู้ป่วยมีการพักสลับกับการทำกิจกรรม

กลุ่มยา

ผู้ป่วยมีสมดุลของสารน้ำ ปริมาณน้ำเข้า-ออกเท่ากัน

จัดการให้มีการพักผ่อนให้เพียงพอ

ผู้ป่วยแขนขาบวมลดลง ไม่มีอาการกดบุ๋ม

ผู้ป่วยมีค่าอิเล็กโทรไลต์ ค่า Na 136-145 mEq/L

asodilator antihypretensive drugs

ประเมินผล

ผู้ป่วยสามารถทำกิจกรรมได้เพิ่มขึ้น

ค่า electrolyte อยู่ในเกณฑ์ปกติ

ผู้ป่วยไม่มีอาการเหนื่อยล้า อ่อนเพีย

ขยายหลอดเลือด มีกลไกการออกฤทธิ์โดยทำให้กล้ามเนื้อของหลอดเลือดเกิดการคลายตัว จึงช่วยลดแรงต้านทานภายในหลอดเลือดและส่งผลให้ความดันโลหิตลดลงเลือดไหลผ่านหลอดเลือดได้ดีขึ้น

ข้อควรระวัง/ข้อห้ามใช้

วรหลีกเลี่ยงการลุกขึ้นจากท่านั่งหรือท่านอนเร็วเกินไปในช่วงที่กำลังใช้ยาไฮดราลาซีน เพราะอาจทำให้เกิดอาการวิงเวียนจนเป็นลมหมดสติได้ ดังนั้น จึงควรปรับเปลี่ยนท่าทางอย่างช้า ๆ