Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
CHRONIC KIDNEY DISEASE (CKD), การตรวจประเมิน AVF หรือ AVG ก่อนการแทงเข็ม,…
CHRONIC KIDNEY DISEASE
(CKD)
การรวบรวมข้อมูล
ประวัติผู้ป่วย
ชายไทยอายุ 43 ปี
ระดับการศึกษาปริญญาตรี
อาชีพลูกจ้างองค์การมหาชน
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
( Past history)
โรคเบาหวาน ~ 10 ปี
โรคความดันโลหิตสูง ~ 5 ปี
ภาวะหัวใจล้มเหลว ~ 2 ปี
โรคผิวหนังแข็ง (Scleroderma)
โรคไต
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว
(Family history)
พ่อและยายมีประวัติเป็นโรคเบาหวาน
มารดาเป็นโรคโลหิตจาง
การวินิจฉัยโรคแรกรับ
โรคไตเรื้อรัง (Chronic kidney disease)
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน
(Present illness)
1hr.ก่อนมาโรงพยาบาลผู้ป่วยประสบอุบัติเหตุทางรถจักรยานยนต์มีอาการเจ็บบริเวรซีโครงฝั่งซ้ายจนถึงขาข้าย มีอาการเจ็บใต้ราวนมขณะหายใจ รู้สึกหายใจไม่สะดวก พบมีอาการบวม จึงโทรเรียกรถพยาบาลนำส่ง ER โรงพยาบาลตำรวจ
อาการแรกรับ
ชายไทย รู้สึกตัวดี ถามตัวรู้เรื่อง on lasix 1 g ทาง IV 4 ml/hr.
Pt.มีบวมตามร่างกาย บ่นปวด pain score = 9 คะแนน
อาการสำคัญ
(Chief complaint)
ผู้ป่วยหายใจหอบเหนื่อย มีอาการขาบวม 1 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
การวิเคราะห์/การให้เหตุผล
พยาธิสรีรวิทยา
เกิดจากการเสื่อมของไตและการถูกทำลายของหน่วยไต มีผลทำให้การกรองทั้งหมดลดลง และการขับถ่ายของของเสียลดลง ปริมาณ Creatinine และ BUN ในเลือดสูงขึ้น หน่วยไตที่เหลือจะเจริญมากผิดปกติ เพื่อการกรองของเสียที่มีมากขึ้นทำให้เกิดไตเสียความสามารถในการปรับความเข้มข้นของปัสสาวะที่ถูกขับออกไปอย่างต่อเนื่อง หน่วยไตไม่สามารถดูดกลับเกลือแร่ต่างๆได้น้อยลง ส่งผลให้เกิดการคั่งของยูเรียในร่างกาย
สาเหตุไตเรื้อรัง
สาเหตุที่พบในคนผู้ป่วย
มีความผิดปกติของหลอดเลือดและระบบไหลเวียนโลหิต ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวาน
โรคทางเกี่ยวกับพันธุกรรม เช่น โรคไตเป็นถุงน้ำดี
กรวยไตและหน่วยไตอักเสบ
โรคจากหลอดเลือดเกิดจากเลือดไปเลี้ยงไตไม่เพียงพอ /โรคความดันโลหิตสูง
การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
อาการและอาการแสดง
ในผู้ป่วย
หายใจหอบเหนื่อย ขณะให้การพยาบาลผู้ป่วย
พบภาวะซีด เนื่องจาก conjunctiva พบเป็นสีซีด
มี caprari refill นานกว่า 2 วินาที เล็บมีสีขาวซีด
มีปัสสาวะบ่อยในช่วงเวลากลางคืน และปัสสาวะออกมาเป็นจำนวนมาก
มีผิวหนังแห้งและแข็ง ผิวหนังแตกเป็นรอยแยก
มีอาการบวมที่บริเวณหน้าแข้ง pitting edema 2+
บวม บวมตามรอบตา บริเวณที่ใบหน้า บวมตามเท้าหรือช่องท้อง
หายใจลึก และหายใจหอบเหนื่อย นอนราบไม่ได้
ปัสสาวะผิดปกติ เช่น ปัสสาวะบ่อยในตอนกลางคืน ปัสสาวะน้อยลง
มีภาวะซีด เกิดอาการอ่อนเพลีย ความรู้สึกตัวลดลง
มีอาการเนื่องจากของเสียคั่ง เช่น คลื่นไส้อาเจียน เบื่ออาหาร คันตามตัวปลายมือปลายเท้าชา
ผิวหนังแห้ง มีรอยแตก เป็นขุยสีขาว มีอาการคัน
หน้าที่ของไต
หน้าที่สำคัญของไต คือ การสร้างปัสสาวะซึ่งจะช่วยขับของเสียที่เกิดจากการเผาผลาญสารอาหารต่างๆ และช่วยในการรักษาความปกติของน้ำและเกลือแร่ของร่างกายนอกจากนั้นไตยังมีหน้าที่ในการสร้างสารที่ควบคุมความดันโลหิต และสารที่ช่วยกระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดแดง (Erythropoietin) ดังนั้นเมื่อไตทำงานน้อยลงมักเกิดปัญหาความดันโลหิตสูงและโลหิตจางร่วมด้วย
การซักประวัติ
ผู้ป่วยมีอาการปวดที่ราวนมด้านซ้ายและปวดตึงตรงขาด้านซ้าย pain score = 2 พลิกตะแคงตัวได้แต่ยังไม่สามารถลุกนั่งเองได้ ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี พูดคุยรู้เรื่องไม่สับสนมึนงง ช่วยเหลือตัวเองได้บางส่วนและมีอาการหายใจหอบเหนื่อยขณะให้การพยาบาล
การตรวจร่างกาย
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
พบค่าความผิดปกติของโรคดังนี้
ของวันที่ 02/01/66
BUN = 89.2 mg/dL ค่าสูงกว่าปกติ (5 - 20 mg/dl)
Creatinine = 5.36 mg/dL ค่าสูงกว่าปกติ (0.6 - 1.3 mg/dl)
GFR = 12.05 mL/min/1.73 m ต่ำกว่าปกติ (ห้ามต่ำกว่า 15)
Sodium (NA) = 134 mmol/L ค่าต่ำกว่าปกติ (136-145 mmol/L)
Hb = 8.7 g/dL ค่าต่ำกว่าปกติ (12.8 - 16.1 g/dL)
Hct = 25.5% ค่าต่ำกว่าปกติ (38.2 - 48.3 %)
WBC = 18.06 10^3/uL ค่าสูงกว่าปกติ (5000x10000 cell/mm^3)
Urinalysis พบ WBC = 10-20/HPF
Specimen : Blood I
Hemoculture and sensitivity Automate
Hemo culture POSITIVE
staphylococcus aureus(MSSA)
Gram Stain: Gram possitive cocci in cluster
Specimen : Blood ll
Hemoculture and sensitivity Automate
Hemo culture POSITIVE
staphylococcus aureus(MSSA)
Gram Stain: Gram possitive cocci in cluster
Specimen: Blood DLC V
Hemoculture and sensitivity Automate
Hemo culture POSITIVE
staphylococcus aureus(MSSA)
Gram Stain: Gram possitive cocci in cluster
Specimen: Blood DLC A
Hemoculture and sensitivity : Automate
Hemo culture POSITIVE
staphylococcus aureus(MSSA)
Gram Stain: Gram possitive cocci in cluster
ของวันที่ 05/01/66
BUN = 62.1mg/dL ค่าสูงกว่าปกติ (5 - 20 mg/dl)
Creatinine = 4.44mg/dL ค่าสูงกว่าปกติ (0.6 - 1.3 mg/dl)
eGFR = 15.14mL/min/1.73 m
Sodium (NA) = 135 mmol/L ค่าต่ำกว่าปกติ (136-145 mmol/L)
Hb = 8.7 g/dL ค่าต่ำกว่าปกติ (12.8 - 16.1 g/dL)
Hct = 26.2% ค่าต่ำกว่าปกติ (38.2 - 48.3 %)
WBC = 11.36 10^3/uL ค่าสูงกว่าปกติ (5000x10000 cell/mm^3)
แนวทางการรักษา
ผู้ป่วย
ยาที่ผู้ป่วยใช้ก่อนเข้าโรงพยาบาล
Ozempic 0.25 mg/dose 2mg/1.5ml. PF PEN(semaglutide) (ฉีดครั้งละ 0.25 mg สัปดาห์ละ1 ครั้ง )
ใช้ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน หรือโรคอ้วน
Diabederm 20% cream 35gm. (ทาผิวแห้ง)
รักษาผิวหนังแห้ง ผิวหนังหนา
Avamys 120 dose nasal spray (fluticasone furoate)
(พ่นทางจมูกข้างละ 1 กด วันละ 1 ครั้ง ตอนเช้า)
กลุ่มยาโรคความดันโลหิตสูง/โรคหัวใจล้มเหลว
Maforan 5 mg.tab (warfarin)
(รับประทานครั้งละ 1 เม็ดครึ่ง วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน)
หยุดทานยา 16/11/65 - 29/12/65 เพราะทำเส้นล้างไต
ใช้ในกลุ่มผู้ป่วยโรคหัวใจ ช่วยในการต้านการแข็งตัวของเลือด หรือยาละลายลิ่มเลือด
มีเลือดออกง่าย เกิดจุดแดงใต้ผิวหนัง หรือปัสสาวะเป็นเลือด
ผิวซีด หายใจถี่ หัวใจเต้นเร็ว
ปัสสาวะสีเข้ม ปัสสาวะออกน้อย
มีอาการชา กล้ามเนื้ออ่อนแรง
Caraten 25 mg.tab.(carvedilol)
(รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร เช้า เย็น)
ใช้ในกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ลดอัตราการเต้นของหัวใจ
ผลข้างเคียง : หัวใจเต้นช้าหรือไม่เป็นจังหวะ มือเท้าชา
Cesoline w 25 mg.tab. (Hydralazine HCL)
(รับประทานครั้งละครึ่งเม็ด วันละ 1 ครั้ง หลังอาหารเช้า)
หยุดชั่วคราว เนื่องจากไม่สะดวกเข้าห้องน้ำ
Isosorbide-dinitrate 10 mg.tab.(isosorbide dinitrate)
(รับประทานครั้งละ 2 เม็ด 3 ครั้ง หลังอาหาร
ใช้ในกลุ่มผู้ป่วยโรคหัวใจ อยู่ในกลุ่ม nitrates จะขยายหลอดเลือดทำให้หัวใจสามารถปั๊มเลือดผ่านหลอดเลือดได้ง่ายขึ้น ใช้ป้องกันอาการเจ็บหน้าอก
ผลข้างเคียง : หัวใจเต้นแรง ความดันต่ำ หน้ามืดจะเป็นลม
Madiplot 20 mg.tab. (Manidipine)
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้งหลังอาหารเช้า
รักษาในผู้ป่วยความดันโลหิตร่วมกับผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง มีกลไกขยายหลอดเลือดแดง ทำให้ความดันโลหิตลดลง
ผลข้างเคียง : ความดันโลหิตต่ำ หน้ามืด ข้อเท้าบวม
ยาที่ได้รับขณะรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาล
Biocalm 50 mg.tab.
รับประทาน 1เม็ด วันละ 3 ครั้งหลังอาหาร เช้า กลางวัน เย็น
กลุ่มที่ช่วยในการคลายกล้ามเนื้อ รักษาภาวะกล้ามเนื้ออักเสบ
Cesoline w 25 mg.tab.
รับประทาน 2 เม็ด วันละ 3 ครั้งหลังอาหาร เช้า กลางวัน เย็น
Isosorbide dinitrate 10 mg.tab.
รับประทาน 1 เม็ด วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น
กลุ่มยารักษาโรคไต
Sodium bicarbonate 300 mg.tab
รับประทาน 2 เม็ด วันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร เช้า เย็น
ช่วยรักษาภาวะเลือดเป็น ปรับปัสสาวะให้เป็นด่าง และบรรเทาอาการอาหารไม่ย่อย
ผลข้างเคียง : อ่อนแรง อุจจาระมีสีดำ แน่นหน้าอก
Calcium carbonate 1250 mg.tab.
รับประทาน 1 เม็ด วันละ 2ครั้ง หลังอาหาร เช้า เย็น
ช่วยลดฟอสเฟตในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
Femide 500 mg.tab
รับประทาน 1เม็ด หลังอาหาร เช้า
ยาขับปัสสาวะ ทำให้ไตขับขับน้ำส่วนเกินและเกลือออกมากับปัสสาวะ ใช้ลดความดันโลหิตและภาวะบวมน้ำ
ผลข้างเคียง : หอบเหนื่อย หนาวสั่น อ่อนแรงผิดปกติ
Calcit sg 0.25 mcg. cap.
รับประทาน 3 แคปซูล ทุกวันจันทร์ พุธ ศุกร์
เป็นวิตามิน D ใช้ในการรักษาภาวะแคลเซียมในเลือดต่ำ
ผลข้างเคียง : ความดันโลหิตสูง ปัสสาวะบ่อยในตอนกลางคืน
Madiplot 20 mg.tab. (Manidipine)
รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้งหลังอาหารเช้า
Caraten 25 mg.tab.(carvedilol)
(รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร เช้า เย็น)
การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม (hemodialysis)
เป็นการนำเลือดออกจากร่างกายผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง ผ่านเข้าเครื่องไตเทียม แล้วให้เครื่องทำการฟอกเลือดเหมือนกับไตที่ทำหน้าที่ปกติ เมื่อเครื่องไตเทียมทำหน้าที่ฟอกเลือดแล้ว จึงนำเลือดกลับเข้าสู่ร่างกายผู้ป่วยในระบบที่ปราศจากการปนเปื้อน ช่วยให้มีการแลกเปลี่ยนของเสีย เกลือแร่ ระหว่างเลือดกับน้ำยาฟอกเลือด
ภาวะแทรกซ้อนของการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมที่พบได้บ่อยคือ ภาวะความดันโลหิตต่ำ รวมไปถึงภาวะการการติดเชื้อ นอกจากนี้ยังมีภาวะร่างกายสูญเสียน้ำและเกลือแร่เร็วเกินไป ส่วนภาวะแทรกซ้อนอื่นที่คือการเกิดตะคริว การเกิดไข้ ระหว่างฟอกเลือดภาวะเม็ดเลือดแดงแตกเฉียบพลัน เป็นต้น
แนวทางการพยาบาลของผู้ป่วยฟอกเลือด HD
กิจกรรมของพยาบาล
ประเมินภาวะสุขภาพทั่วไปก่อนการฟอกเลือด เช่น ชั่งน้ําหนัก
กําหนดปริมาณน้ําเกินที่ต้องกําจัดออก วัดสัญญาณชีพ
ตรวจร่างกายประเมินความผิดปกติเบื้องต้น ที่อาจจะเกิดขึ้นดังนี้ อาการหายใจลำบาก อาการบวม ความวิตกกังวล ประวัติการคลื่นไส้ อาเจียนหลังการฟอกเลือดในรอบที่ผ่านมา การนอนหลับพักผ่อน อาการคัน อาการ เจ็บแน่นหน้าอกและสติสัมปชัญญะ
ประเมินการทํางานของเส้นเลือดที่ใช้ในการฟอกเลือด หากพบ อาการผิดปกติที่จะส่งผลต่ออันตรายต่อผู้ป่วยและแผนการรักษาของแพทย์ ให้คําปรึกษากับผู้ป่วย ตามกรณีที่ร้องขอ ลงบันทึกในแฟ้มประวัติการฟอกเลือดประจําวัน
การดู พยาบาลที่ประเมินเส้นฟอกเลือดก่อนการแทงเข็ม ควรประเมิน อาการ แสดงของการติดเชื้อได้แก่อาการบวม แดง ร้อน และการมีน้ำเหลืองไหลก้อนเหลือง (hematoma) ที่เส้นฟอกเลือด ดูสีผิวบริเวณมือซีดขาวหรือบวมที่เกิดจาก Venous hypertension ดูการตายของ ผิวหนังที่ปลายนิ้ว หากมีอาการผิดปกติเหล่านี้เป็นสิ่งที่ต้องรายงานแพทย์ให้ทราบ
การคลํา ให้คลําตั้งแต่รอยต่อของหลอดเลือดดําาและแดงที่เชื่อมต่อกันและ คลําตามเส้นฟอกเลือดให้ครอบคลุมในเส้นฟอกเลือดที่ปกติจะคลําาได้ thrill ที่แรงและ Pulse เบา ถ้า AVG การคลําได้ thrill บ่งบอกว่ามีปริมาณการไหลของเลือดมากกว่า 450 มิลลิลิตร/นาที ในกรณีที่คลําได้ thrill แต่ pulse ในแต่ละตําาแหน่งแรงแตกต่างกันบ่งบอกได้ว่ามีการตีบตันของดำในตำแหน่งที่สูงขึ้น
การฟังโดยทั่วไปในการทำงานปกติของเส้นฟอกเลือดจะฟังได้ Bruit ที่มีเสียงในช่วง diastolic phase ยาว หากมีการตีบแคบเสียงที่ฟังได้จะมีช่วง diastolic phase สั้นลง และแหลม กรณีที่มีการอุดตันจะฟังไม่ได้ยิน
กิจกรรมของพยาบาล
1.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม ตามแผนการรักษาของแพทย์
2.ประเมินอาการผิดปกติภาวะแทรกซ้อนต่างๆที่อาจจะเกิดขึ้นขณะทำการ
ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม ติดตามการทําางานของเครื่องไตเทียม
ประเมินเส้นเลือดที่ใช้ในการ ฟอกเลือด วัดความดันโลหิตทุก 30-60 นาทีหรือถี่กว่านั้นตามความจําาเป็นของผู้ป่วยแต่ละคน monitor EKG และให้ออกซิเจนตามความจําาเป็นของผู้ป่วยแต่ละคน
หากเกิดภาวะแทรกซ้อน เกินกว่าที่พยาบาลจะแก้ไขได้ตามบทบาทรายงานแพทย์ทันทีและแก้ไขภาวะแทรกซ้อนดังกล่าว ตามแผนการรักษา
5.ให้ยา สารน้ําอาหารทดแทนตามแผนการรักษาเก็บสิ่งส่งตรวจตามแผนการ รักษาและรายงานผลตามความเร่งด่วนให้คำปรึกษาผู้ป่วยตามกรณที่เรียกร้องให้คำแนะนำในการปฏิบัติตัวในสิ่งที่ประเมินได้ว่าผิดปกติ ลงบันทึกในแฟ้มประวัติการฟอกเลือดประจําาวันต่อเนื่อง
ให้คำแนะนำผู้ป่วยหลังจากการใส่สายสวนเพื่อฟอกเลือด
ดูแลความสะอาดบริเวณที่ใส่สายสวนให้แห้งและสะอาดอยู่เสมอ เปลี่ยนผ้าปิดแผลเมื่อเปียกชื้น
ดูแลรักษาความสะอาดของร่างกาย ล้างมือด้วยสบู่ทุกครั้งที่จะมีการสัมผัสกับสายหรือเปลี่ยนผ้าปิดแผล เพื่อลดอัตราเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
ระมัดระวังบริเวณที่ใส่สายสวนไม่ให้เปียกชื้นในขณะอาบน้ำ งดลงแช่น้ำ หรือเข้าเซาว์น่าเพราะความเปียกขึ้นบริเวณที่ใส่สายเป็นสาเหตุของ
ใช้2% chlorhexidine in alcohol 70%, chorhexidine aqueous 71,75-77 หรือ 10% iodine ทำความสะอาดรอบๆบริเวณที่ใส่สายเป็นสาเหตุของการติดเชื้อ
ดูแลสายสวนไม่ให้ ดึงรั้ง หัก พับ งอเพราะอาจ าให้ประสิทธิภาพของการทำงานเสียไป
งดแกะเกาบริเวณรอบนอกแผล เพราะอาจเป็นสาเหตุของการติดเชื้อได้
ผู้ป่วยที่ใส่สายสวนบริเวณคอหลีกเลี่ยงการใส่เสื้อชนิดสวมศีรษะ แนะนำสวมเสื้อผ่าเปิดต้านหน้า และติดกระดุมหน้าเพื่อป้องกันการเกี่ยว และดึงรั้งสาย
ในผู้ป่วยที่ใส่สายสวนบริเวณขาหนีบระมัดระวังเรื่องความสะอาดเป็น พิเศษในช่วงที่มีการขับถ่ายปัสสาวะ และ อุจจาระเพื่อป้องกันการติดเชื้อจากการสัมผัสสิ่งสกปรก :
กิจกรรมพยาบาล
1.ได้รับการประเมินสุขภาพผู้ป่วย เช่น ประเมินสัญญาณชีพ ประเมินระดับการรู้สึกตัว ย้ายผู้ป่วยไปรอปิดแผลเส้นเลือดที่ใช้ในการฟอกเลือด นัดครั้งถัดไป
ประเมินเส้นที่ใช้ในการฟอกเลือด และอาการผิดปกติต่าง ๆ หลังการฟอกเลือด 15 นาที หากไม่มีอาการผิดปกติ ชั่งน้ําหนักหลังการฟอกเลือด
3.ให้คําปรึกษากับผู้ป่วยตามกรณีที่ร้องขอ สรุปการปฏิบัติการฟอกเลือดประจําาวันลงในแฟ้มประวัติการฟอกเลือดของผู้ป่วยและอนุญาตให้ กลับบ้านได้
แนวทางการพยาบาล
ควบคุมน้ำหนัก ให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารต่อมื้อให้น้อยลง จำกัดอาหารจำพวกโปรตีน เพื่อลดภาวะเล่อดเป็นกรด หลีกเลี่ยงอาหารเค็มและหวาน
ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดเท่ากับ 90-130 มิลลิกรัม/เดซิลิตร
ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่
ค่า BUN , Cr, sodium, Hb, Hct หลังจากทำการฟอกเลือด
ตรวจวัดสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วย
จำกัดปริมาณที่ผู้ป่วยดื่มในแต่ละวัน ไม่ควรให้เกิน 800 ลิตร/วัน เพื่อป้องกันการเกิดภาวะน้ำเกิน
ปัญหาทางการพยาบาล
ผู้ป่วยมีการติดเชื้อในกระแสเลือด
การพยาบาล
ตรวจสอบและบันทึกสัญญาณชีพ ทุก 4-6 ชม เพื่อประเมินการติดเชื้อในร่างกาย
ดูแลให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ และยาฆ่าเชื้อตามแผนการรักษา พร้อมบันทึกปริมาณน้ำเข้าและออกจากร่างกาย ทุก 2-4 ชม ตามแผนการรักษา เพื่อติดตามดูแลความสมดุลย์ของน้ำในร่างกาย
ดูแลเช็ดตัวลดไข้ และดูแลความสะอาดของร่างกาย
ล้างมือก่อนและหลังให้การพยาบาลอย่างเคร่งครัด
เพื่อลดการติดเชื้อเพิ่ม
ติดตามระดับความรู้สึกต้วผู้ป่วย
ข้อมูลสนับสนุน
ผลการเพาะเชื้อ H/C พบเชื้อ staphylococcus ทั้ง 4 ขวด
: มีไข้ อ่อนเพลีย หายใจเหนื่อย
WBC : 11.36 10^3/uL ค่าสูงกว่าปกติ
ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม
ข้อมูลสนับสนุน
Fall score = 5
ให้ยากลุ่ม Isosorbide-dinitrate 10 mg.tab และ Madiplot
อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย
การพยาบาล
ให้ความรผู้ ู้ป่วย / ญาติ เรื่องการปอ้ งกันการพลัดตกหกล้ม
-แนะนำการใช้อุปกรณ์ออดสัญญาณขอความช่วยเหลือ เตียงราวกั้นเตียงรถเข็น
ปรับเตียงต่ำสุด ล็อคล้อเตียง ยกราวกั้นเตียงขึ้นทั้ง 2 ขาง เมื่อผู้ป่วยอยู่บนเตียงหรือ หลังให้การพยาบาล
จัดสภาพแวดล้อม ของใช้จำเป็นให้สะดวก พร้อมใช้ -เปิดไฟ
ติดสัญลักษณ์ / ป้าย ผู้ป่วยเสี่ยงพลัดตกหกล้มบริเวณหน้าห้อง
และหัวเตียง
พยาบาลเข้าตรวจเยี่ยมและประเมินผู้ป่วยทุก 2 ชั่วโมง
พิจารณาผูกยึด / ให้ยาตามความจาเป็นและเหมาะสม
ผู้ป่วยมีภาวะซีดและเลือดออกง่ายหยุดยาก
ข้อมูลสนับสนุน
hct 26.2 % ต่ำกว่าปกติ
ผล INR 1.33 ต่ำกว่าค่าปกติ (2.5-3.5)
เปลือกตาซีด
Capillary refilling time > 2 seconds
การพยาบาล
ประเมินภาวะซีดและภาวะเลือดออกจากการตรวจร่างกาย
ติดตาม ค่า Hct , INR ตามแผนการรักษา
ให้ FFP ตามแผนการรักษาแบะเฝ้าระวังการแพ้อนุพันธ์ของเลือดอย่างใกล้ชิด
ดูแลการให้ยา Vit k ตามแผนการรักษา
5 . เฝ้าระวังการเกิดอุบัติเหตุพลัดตกหกล้ม โดยเอาไม้กั้นเตียงขึ้นหลังการพยายาล และอธิบายให้ผู้ดูแลผู้ป่วยเข้าใจ
ผู้ป่วยมีภาวะน้ำเกินในร่างกาย เนื่องจากไตสูญเสียการทำงาน
กิจกรรมการพยาบาล
1.ซักถามอาการเหนื่อย อ่อนเพลียของผู้ป่วย และอาการหายใจหอบเหนื่อย
2.วัดสัญญาชีพ
3.จัดท่านอนศีรษะสูง
4.จำกัดน้ำดื่มไม่เกิน 800 ml./day เพื่อลดภาวะน้ำเกิน
เวรเช้า 250 ml ,เวรบ่าย 250 ml , เวรดึก 250 ml
5.record I/O
6.ได้รับยาตามแผนการรักษา
ข้อมูลสนับสนุน
1.ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ ค่า eGFR
2.จากการบันทึกสารน้ำเข้า - ออก ของร่างกาย
3.ผู้ป่วยหายใจหอบเหนื่อย ขณะให้การพยาบาล
4.บวมตามร่างกาย
5.ค่าโซเดียม 135 mmol/L ต่ำกว่าปกติ
ผู้ป่วยเสี่ยงต่อภาวะของเสียคั่งในร่างกายเนื่องจากไตสูญเสียหน้าที่
ข้อมสนับสนุน
1.ผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
2.ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ ค่า BUN 89.2 mg/dl และ Cr 5.36 mg/dl
3.ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ ค่า eGFR
การพยาบาล
1.ดูแลให้ได้รับการทำ HD 2 คร้ัง/สัปดาห์ ตามแผนการรักษาของแพทย์
2.ให้คำแนะนำการปฏิบัติตัวในเรื่อง การรับประทานอาหาร โดยเฉพาะโปรตีนควรเป็นโปรตีนที่ย่อยง่าย เช่นเนื้อปลา ไข่ขาว
4.ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการค่า BUN และ Cr ภายหลังการทำ HD
3.สังเกตอาการซึม อาการซับซน คลื่นไส้อาเจียน
วัตถุประสงค์
เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากของเสียที่คั่งอยู่ในร่างกาย
ผู้ป่วยมีภาวะหัวใจทำงานผิดปกติเนื่องจากได้รับเลือดไปเลี้ยงหัวใจไม่เพียงพอ
ข้อมูลสนับสนุน
หายใจเหนื่อย นอนราบไม่ได้ เหนื่อยง่ายเวลามีกิจกรรม
cXr - cardiomevgaly
มีเจ็บแน่นหน้าอก
vital sing BP,P
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับออกซิเจน ตามแผนการรักษา และติดตามระดับ oxygen satuation อย่างต่อเนื่อง ให้มากกว่า 95% เพื่อเพิ่มระดับออกซิเจนในเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจและลดการทำงานของหัวใจ
2.เฝ้าระวัง อาการและอาการแสดงของภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ประเมินสัญญาณชีพ และคลื่นไฟฟ้าหัวใจ รวมถึงอาการแสดงของผู้ป่วย เช่น เหงื่อแตก ใจสั่น ตัวเย็นชื้น เพื่อประเมินว่าเลือดไปกล้ามเนื้อหัวใจและอวัยวะต่างๆอย่างเพียงพอ
3•ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
การตรวจประเมิน AVF หรือ AVG ก่อนการแทงเข็ม
ก่อนการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
(Pre-Hemodialysis Assessment)
ระหว่างการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
(Intra hemodialysis Assessment)
หลังการฟอกเลือด
(Post Hemodialysis)