Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 งานชั่วคราว และการจัดการสถานที่ก่อสร้าง - Coggle Diagram
บทที่ 5
งานชั่วคราว และการจัดการสถานที่ก่อสร้าง
บทนี้ กล่าวถึง งานชั่วคราว และการจัดการสถานที่ก่อสร้าง
ข้อจํากัด
การวงาแผน
สถานที่ก้อสร้าง
อื่นๆ
เครื่องจักรกล อุปกรณ์งานคอนกรีต
ในงานก่อสร้าง อาจลําเลียงคอนกรีต หรือเท โดยใช้แรงคน ใช้รางเท (Chute) สูบและท่อ (Pumpcrete) ท่อทางดิ่ง ใช้ Bucket
แลว้ทําให้คอนกรีตแน่น โดยสั่น หรือเขย่า (Vibrating)
สถานที่ก่อสร้าง และงานชั่วคราว
ลักษณะงาน และข้อจํากัดทางกายภาพ
ที่ว่าง หรือพื้นที่ทํางาน
ทางเข้าออก
ผลกระทบจากการก่อสร้าง
เสียง
ฝุ่นละออง
หรือมลพิษอื่น ๆ
ขึ้นกับสถานที่ตั้ง (Site location)
การเตรียมงาน หรืองานชั่วคราว จึงต้องทําเฉพาะกรณี
แบบ นั่งร้าน และค้ำยัน
แบบหล่อคอนกรีตอาจเป็นไม้ เหล็ก หรือวัสดุอื่นใดก็ได
แบบหล่อเคลื่อนที่ (Slip form) เป็นแบบหล่อชนิดพิเศษ เป็นแบบหล่อชุดเดียว ที่ใช้หล่อคอนกรีตอย่างต่อเนื่อง
นั่งร้านเคล่ือนที่ได้(Movable formwork and false work) ประกอบด้วย แบบหล่อคานรองรับ เสารองรับ และอุปกรณ์ที่ทําให้เคลื่อนที่ได้ แนวราบ หรือแนวดิ่ง
การค้ํายันกลับ (Re - shoring) หมายถึง การถอดไม้แบบและค้ํายันของโครงสร้างคอนกรีตออกแล้วดําเนินการใส่ค้ำยันกลับคืนอีกครั้งหนึ่ง
เครื่องจักรกลงานดิน และผิวทาง
เครื่องจักรกลงานดิน อาจเรียกว่า เครื่องจักรกลงานทาง อาจจําแนกชนิด ประเภท โดยอาศัยองค์ประกอบทางกายภาพ (Physical Component) คือ มิติ ขนาด ของเครื่องจักรกล รวมทั้งอุปกรณ์ที่ประกอบหรือติดตั้ง (Integrated accessories) กับเครื่องจักรกลนั้น
อุปกรณ์ สมรรถนะ และพิสัยของเครื่องจักรกลหลัก
ปัจจัยในการเลือกใช้เครื่องจักรกล ประกอบด้วย ลักษณะงาน พื้นที่ทํางาน สภาพดินปริมาณงาน เวลา งบประมาณ ความสามารถ และพิสัย นอกจากเลือกเคร่อืงจักรกลให้เหมาะแก่
ข้อจํากัดแล้วจะต้องรู้จักเลือกใช้อุปกรณ์ประกอบ อาทิ ใบมีด หรือเครื่องจักรกลอุปกรณ์ที่ใช้งานร่วมกัน หรอืทดแทนกัน ตามเหมาะสม