Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาที่ 3, 6.ปัญหาการมองเห็น - Coggle Diagram
กรณีศึกษาที่ 3
-
2.ปัญหาปวดเมื่อยตามข้อ
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
- ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดเมื่อยตามข้อ (เสี่ยงภาวะข้อเสื่อม เนื่องจากปวดเมื่อยตามข้อปวดเมื่อยตามข้อเนื่องจากเข่าเสื่อม)
S:ปวดข้อ ปวดเมื่อย
O:เก๊าท์
: แบบประเมินภาวะข้อเสื่อม พบว่า ลุกขึ้นและยืนขาเดียวได้ไม่ดี
: ยา tramadol,calcium carbonate
-
กิจกรรมการพยาบาล
- 1.ซักประวัติอาการปวดข้อ มีอาการบวม แดง ร้อน กดเจ็บบริเวณข้อ มีเสียงในข้อหรือการเคลื่อนไหวข้อลําบาก เพื่อประเมินอาการปวดของข้อ
2.หลีกเลี่ยงการรับประทานเนื้อสัตว์ เนื้อแดง เครื่องในสัตว์ เพื่อป้องกันการเพิ่มกรดยูริกในเลือด
3.ประคบด้วยความร้อนที่บริเวณข้อที่ปวดเพื่อให้กล้ามเนื้อคลายตัว
4.บริหารกล้ามเนื้อรอบๆข้อให้แข็งแรง เพื่อช่วยให้การเคลื่อนไหวของข้อเข่าดีและสามารถทรงตัวได้ดีเวลายื่นเหมือนเดิม
5.แนะนำการออกกำลังกายเพื่อเพิ่ม ความแข็งแรงของกล้ามเน้ือ (strengthening exercise) และการออกกำลังกายในสถานที่ที่มีแสงแดดอ่อนอ่อนอย่างสม่ำเสมอ
6.แนะนำให้หลีกเลี่ยงการนั่งยองๆนั่งพับเพียบนั่งขัดสมาธิเคลื่อนไหวอย่างระมัดระวังเพื่อป้องกันการหกล้ม
7.แนะนำวิธีบรรเทาอาการปวดต่างๆเช่นการประคบด้วยความร้อนหรือความเย็นการพักนึงลดการใช้งานโดยหลีกเลี่ยงการลงบันได เป็นต้น
8.ให้ผู้สูงอายุเคลื่อนไหวข้อ เพื่อป้องกันข้อยึดติด
- ปัจจัยภายใน
กล้ามเนื้อผู้สูงอายุลีบเนื่องจากการลดทั้งจำนวนและขนาดของเซลล์กล้ามเนื้อ โดยเฉพาะกล้ามเนื้อขาทำให้กำลังความเร็วในการเดินความแข็งแรงและความสามารถใน การทรงตัวลดลงมวลกระดูกลดลงกระดูกบางและหักง่ายเพราะเซลล์สลายกระดูกทำหน้าที่มากกว่าเซลล์สร้างกระดูกเนื่องจากระดับเอสโตรเจนลดลงและไม่เคลื่อนไหว
- ทฤษฎี
1.wear and tear theory
4.ปัญหาจากโรคไต
- ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
• เสี่ยงภาวะแทรกซ้อนจากโรคไต
S:ปัสสาวะบ่อยครั้ง วันละ 5-6 ครั้งต่อวัน
O:ยา NaHCO3 SodaMint
O:โรคความดันโลหิตสูง
-
กิจกรรมการพยาบาล
- 1.สอนการสังเกตุอาการและการติดตามประเมินระดับความดันโลหิตด้วยตัวของผู้ป่วย ครอบครัวและผู้ดูแล
2.แนะนำให้หลีกเลี่ยงการอยู่ในที่ที่มีสภาพร้อนหรือเย็นจากผู้สูงอายุที่มีปัญหาเกี่ยว กับระบบประสาทปลายมือปลายเท้าจะทำให้ขาด การรับรู้ความรู้สึกเสี่ยงต่อการบาดเจ็บ
3.จัดตารางในการออกกำลังกายอย่างเหมาะสมและมีเวลาพักผ่อนเพียงพอ
4.เปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุและครอบครัว ระบายความรู้สึกต่อการรักษาและอธิบายทางเลือกเพื่อให้ผู้ป่วยและครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแล
5.แนะนำให้สังเกตุอาการและอาการแสดงที่ควรมาพบแพทย์เช่นมีไข้คอบวมเคลื่อนไหวข้อลดลงปวดศีรษะตาพร่ามัวซึ่งอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนที่เป็นอันตรายได้
6.วางแผนจัดอาหารเพื่อรักษาร่วมกับผู้ป่วยและครอบครัวโดยจำกัดโปรตีนโซเดียมและน้ำเพื่อป้องกันการมีภาวะน้ำเกิน
7.อธิบายเกี่ยวกับยาที่ใช้ชนิดต่างๆรวมถึงความสำคัญของการรับประทานยาตรงเวลาและควรสังเกตอาการข้างเคียงของยา
8.ทบทวนอาการและอาการแสดงของการเสียเลือดเพื่อป้องกันภาวะเลือดออกง่าย
- ปัจจัยภายใน
โรคไตเกิดจากการคั่งของของเสียและการคั่งของน้ำและเกลือแร่การเสียสมดุลย์ของฮอร์โมนร่างกาย โดย
1.ไตจะสูญเสียหน้าที่แบบค่อยเป็นค่อยไป
2.ไตจะมีการสะสมของเสียจากการเผาผลาญในเลือด
3.ของเสียหน้าพวกไนโตรเจนสะสมในเลือดสูงมีภาวะเสียสมดุลย์อิเล็กโทรไลต์ มีภาวะเลือดเป็นกรดแคลเซี่ยมต่ำ โพแทสเซียมสูง
-
5.ปัญหาการพลัดตกหกล้ม
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
- เสี่ยงพลัดตกหกล้มเนื่องจากภาวะแทรกซ้อนจากโรคไต
S: เท้าบวม
S : สายตายาวมองเห็นไม่ชัดเจน
S : ไม่ออกกำลังกาย
O: โรคไต
O: ใช้ยาหลายขนาด
-
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินความรู้เรื่องการหกล้มและการป้องกันของผู้สูงอายุครอบครัวและผู้ดูแล สอบถามเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมเช่น ลักษณะบ้าน ห้องนอน ห้องน้ำและบันไดเป็นต้น ให้คำแนะนำการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันการหกล้ม โดยเน้นให้ผู้สูงอายุครอบครัวและผู้ดูแลเข้าใจว่าสิ่งสำคัญในการป้องกันคือ พฤติกรรม ดังนี้
- การส่งเสริมสุขภาพให้แข็งแรงรับประทานอาหารให้ครบห้าหมู่โดยเฉพาะปลาผัก ใบเขียวเป็นต้น แนะนำการออกกำลังกาย เช่น ไทเก๊ก รำมวยจีน
- ลดความเสี่ยงต่อการหกล้มเช่นไม่ดื่มเหล้าของมึนเมา จัดสิ่งแวดล้อมให้เป็นระเบียบ เมื่อเปิดประตูตู้ควรปิดทุกครั้งและหลีกเลี่ยงการให้สัตว์เลี้ยงนอนตามทาง
3.การปรับพฤติกรรม
- อิริยาบถ หลีกเลี่ยงการอย่างหน้าควรหมุนคอและศีรษะช้าๆเวลาเลี้ยวซ้ายและขวาเมื่อเปลี่ยนอิริยาบถจากท่านอนเป็นท่านั่งค่อยค่อยตะแคงตัวก่อน เปลี่ยนจากท่านั่งเป็นท่ายืนควรจับเก้าอี้
- การเดิน ควรเดินให้ช้าลงขณะเดินเหลียวมองพื้นด้วยไม่ถือของทั้งสองมือหลีกเลี่ยงการเดินบนที่ลื่นหรือเปียกน้ำหากไม่ถนัดหรือเดินไม่มั่นคงควรใช้อุปกรณ์ช่วยในการเคลื่อนไหว
- การขึ้นลงบันได มีสติทุกครั้ง มองขั้นบันไดขณะเดิน ใช้มือจับอย่างน้อยหนึ่งข้างที่ราวบันได
- การแต่งตัวและรองเท้า ไม่ควรแต่งตัวรุ่มร่ามสวมเสื้อผ้าขนาดพอดีกับร่างกายรองเท้าส้นเตี้ยเป็นรูปทรงกว้างมีขนาดและรูปทรงเหมาะสมกับเท้า
- เตรียมการขอความช่วยเหลือในกรณีผู้สูงอายุหกล้มเตรียมเบอร์โทรฉุกเฉินที่จำเป็นเขียนด้วยอักษรขนาดใหญ่ ติดผนังติดตั้งโทรศัพท์ตำแหน่งที่ไม่สูงมาก สามารถเอื้อมมือถึงได้
- ปัจจัยภายใน
1.อาการเท้าบวมจากภาวะแทรกซ้อนของโรคไตทำให้มีการเดินลำบากและเสียงพลัดตกหกล้มได้
2.ความเสื่อมสภาพของการมองเห็นความเสื่อมของการทรงตัวการตอบสนองของระบบประสาทช้าลงและความแข็งแรงของกล้ามเนื้อลดลง จึงเพิ่มความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม
- ปัจจัยภายนอก
1.การขาดการออกกำลังกายผู้สูงอายุที่ไม่ออกกำลังกายมีโอกาสหกล้มมากกว่าผู้สูงอายุที่ออกกำลังกายเป็นประจำ
2.การใช้ยาหลายขนาด คือ การได้รับยามากกว่าสามชนิด นับเป็นสาเหตุสำคัญของการพัดตกหกล้มเนื่องจากผู้สูงอายุมักเป็นโรคเรื้อรังมากกว่าหนึ่งโรค ผู้สูงอายุจึงเสี่ยงต่ออันตรายจากปฏิกิริยาระหว่างยารวม ทำให้เกิดการสะสมของยาในร่างกายและได้รับผลข้างเคียงของยาต่างๆเช่น ผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูง ที่อยู่ระหว่างการปรับขนาดยาลดความดันโลหิตจะเสี่ยงต่อการหกล้มเมื่อเปลี่ยนอิริยาบถเร็ว เป็นต้น
• ทฤษฎี
1.wear and tear theory
ปฏิกิริยาต่อกันของยา
ห้ามให้ calcium carbonate กับ Ferrous fumarate เพราะ การใช้ยาเฟอรัสฟูมาเรตร่วมกับยา Calcium carbonate, Aluminium hydroxide, อาจทำให้ประสิทธิผลการรักษาของยาเฟอรัสฟูมาเรตลดลง หากจำเป็นต้องใช้ยาร่วมกันควรรับประทานยาห่างกันอย่างน้อย 2 ชั่วโมงเป็นอย่างต่ำ
ห้ามให้ calcium carbonate กับ Amlodipine เนื่องจาก calcium carbonate กระบวนการดูดซึม calcium จากทางเดินอาหารเข้าสู่กระแสเลือด ในขณะที่ Amlodipine กลไกยับยั้งการไหลเข้าของแคลเซียมไอออนสู่กล้ามเนื้อหัวใจและกล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือดหัวใจ
ยาความดันโลหิต
-
-
-
ยาที่ไม่แนะนำให้ใช้ร่วมกับยาอัลโลพูรินอล (Allopurinol) เนื่องจากอาจทำให้ประสิทธิภาพของยาลดลง หรืออาจทำให้ยาสลายตัวนานขึ้นและอาจเกิดสารตกค้างจนมีผลข้างเคียงภายหลังได้ โดยยาที่ไม่ควรใช้ร่วม
ยาโรคเก๊าท์
แนะนำไม่ให้ใช้Aspirinร่วมกับ Allopurinol เนื่องจากอาจทำให้ประสิทธิภาพของยาลดลง หรืออาจทำให้ยาสลายตัวนานขึ้นและอาจเกิดสารตกค้างจนมีผลข้างเคียงภายหลังได้ โดยยาที่ไม่ควรใช้ร่วม
-
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
• เสี่ยงต่อการได้ยินบกพร่องเนื่องจากกระบวนการชราภาพ
o:พูดไม่ค่อยได้ยินมีลักษณะหูตึง
-
กิจกรรมการพยาบาล
1.ให้คำแนะนำแก่ผู้ดูแลและสมาชิกในครอบครัวให้มีทักษะการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ถ้าผู้สูงอายุหูตึงข้างเดียวให้พูดอีกข้างนึง ถ้าตึงทั้ง2ข้างให้ผู้พูดพูดด้านหน้าใช้การดูปากร่วมด้วย
2.มีแสงสว่างส่องให้เห็นใบหน้าของผู้พูดอย่างชัดเจนเพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถฟังไปพร้อมกับอ่านปากของผู้พูดได้
-
- ปัจจัยภายใน
มีอายุมากขึ้น เป็นการเปลี่ยนแปลงตามวัยในทางเสื่อมสภาพของระบบการได้ยิน ตั้งแต่หูชั้นนอกจนถึงหูชั้นใน
• ทฤษฎี Accumulative Theory
-
6.ปัญหาการมองเห็น
-
กิจกรรมการพยาบาล
- 1.ประเมินการมองเห็นของผู้ป่วย โดยการชี้สิ่งของเเล้วถามผู้ป่วยว่ามองเห็นหรือไม่ เพื่อประเมินว่าการมองเห็นของผู้ป่วยเป็นอย่างไร เช่น ผู้ป่วยมองเห็นได้ไกลเเค่ไหน มองเห็นชัดเเค่ไหน
2.จัดสถานที่ให้เป็นระเบียบเรียบร้อย ไม่มีสิ่งกีดขวาง เพื่อไม่ให้เกิดการสะดุดล้มหรือเกิดอุบัติเหตุอื่นๆ
3.แนะนำญาติช่วยเหลือในบางกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดอันตรายเพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ
4.ดูเเลให้ผู้ป่วยไปพบจักษุเเพทย์เพื่อทำการรักษา
5.ติดตามผลการตรวจทางจักษุเพื่อให้การดูเเลที่เหมาะสม
-
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
• เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุเนื่องจากประสิทธิภาพการมองเห็นลดลง
O:สายตายาวมองเห็นได้ไม่ชัดเจน
- ปัจจัยภายใน
• ผู้สูงอายุมีภาวะกล้ามเนื้อตาอ่อนแรง (blepharocharasis) ส่งผลต่อการเหลือบมองด้านบน รวมทั้งทำให้การจ้องมองภาพในระยะใกล้ไม่ชัด
• กล้ามเนื้อตาทำงานได้น้อยลงในผู้สูงอายุ ในการปรับความโค้งนูนของเลนส์ตาเพื่อการรวมแสง เนื่องจากเกิดการสะสมของโปรตีน จึงทำให้เกิดปัญหาที่
เรียกว่า สายตายาวในผู้สูงอายุ (presbyopia)
• ทฤษฎี
1.Wear and tear theory
2.Accumulative Theory
-