Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Hypertensive disorder of pregnancy, นางสาวธิดา แซ่ลี รหัสนักศึกษา…
Hypertensive disorder of pregnancy
ผลกระทบ
ทารก
IUGR
ขาด Og → acidosis
คลอดก่อนกำหนด
แท้ง / DFIU
still birth
ได้รับผลข้างเคียง Mgso4
มารดา
ตกเลือด → DIC
หัวใจขาดเลือด
Congestive heart failure
ไตวาย
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ปอดบวม
เลือดออกมากในตับ →ตับวาย
thombocytopenia
ภาวะหลุดลอกของเรตินา
อันตรายจากชัก
ปัจจัยเสี่ยง
ผ่านการคลอดบุตรคนก่อนมาอย่างน้อย 10 ปี
สตรีที่ไม่เคยคลอดบุตรมาก่อน nulliparity
ดัชนีมวลกาย>30kg/m2, อ้วน
ประวัติครรภ์เป็นพิษในครรภ์ก่อน เพิ่มความเสี่ยง 7 เท่า
ตั้งครรภ์แฝด
ความผิดปกติทางสูติกรรม
สตรีอายุมาก >35ปีขึ้นไป
ความหมาย
ภาวะที่ค่าความดันโลหิตช่วงหัวใจบีบตัว(systolic BP)อย่างน้อย 140 mmHg/ ค่าความดันโลหิตช่วงหัวใจคลายตัว(diastolic BP)อย่างน้อย 90 mmHg
ภาวะความดันโลหิตสูงเนื่องจากการตั้งครรภ์พบในระยะครึ่งหลังของการตั้งครรภ์
ภาวะความดันโลหิตสูงหลังคลอด postartum hypertension มารดาที่มีความดันโลหิตปกติขณะตั้งครรภ์ normotensive gastation แล้วมีความดันโลหิตสูงในช่วง 2 สัปดาห์ หลังคลอดถึง 6 เดือนหลังคลอด
พยาธิสภาพ
PGI2,PGE2↓& TXA2 ↑ imbalance→ vasospasm→hypoperfusion→endothelial cell→vasoconstriction + กระตุ้นการสร้างเกร็ดเลือด → DIC
placenta and uterus
หลอดเลือดตีบตัน ปริมาณเลือดที่ไหลผ่านระหว่างรกเเละมดลูก(uteroplacantal perfusion ลดลง) การทำหน้าที่ของรกเสื่อม
neurological system
ปวดศีรษะ ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลงที hyperreflexia, ชักเกริง-ชักกระตุก seizure, เยื่อบุหลอดเลือดถุกทำลาย เกิดการแตกของหลอดเลือดฝอย
visual system
อาจทำให้เกิดการหลุดของกระจกตา(retinal de tachment)อาจเกิดตาบอด (cortical blindness)
renal system
เกิด glomerular capillary endotheliosis glomerular infiltration rateลดลง เซลล์ร่างกายที่เสียโปรตีนจะมีความดันภายในเซลล์ oncotic pressure ลดลงเกิดการคั่งของน้ำในเนื้อเยื่อ
cardiopulmonary system
มี plassna albumin ลดลงเกิด proteinuria และการรั่วของcapillaries นี้ทำให้ colloidonmotic pressure ลดลงการได้รับสารน้ำปริมาณมากอย่างรวดเร็วจะทำให้เกิดภาวะน้ำท่วมปอดได้ง่าย
nematologic and coagulation system
เกิดเกร็ดเลือดต่ำเฉียบพลันกลไกทางระบบภูมิคุ้มกัน / เกร็ดเลือดไปจับเกาะกลุ่มตามเยื่อบุหลอดเลือดที่ถูกทำลาย เกิด intravascular hemolysis มีการแตกและทำลายเม็ดเลือดแดง
hepatic system
มีอาการปวดใต้ชายโครงขวาหรือจุกใต้ลิ้นปี่ คลื่นไส้อาเจียนเกิด generalized vasoconstriction blood glucose ลดลง ตับแตก nepatic rupture
นางสาวธิดา แซ่ลี รหัสนักศึกษา 62102301057 E4