Edward Chace Tolman
ทฤษฎีความคาดหมาย
(Expectancy Theory)
440px-Tolman,_E.C._portrait

ประวัติ

ประวัติส่วนตัว

ชื่อ เอ็ดเวิร์ด ซี ทอลแมน

เป็นนักจิตวิทยาชาวอเมริกัน

มีช่วงชีวิตอยู่ระหว่างปี ค.ศ 1886-1959
รวมอายุได้ 73 ปี

เกิดที่ West Newton รัฐแมซซาชูเสท

ประวัติการศึกษา

ผลงาน

จบชั้นมัธยมที่ Newton

ได้ปริญญาตรีทางด้านเคมีไฟฟ้า

ได้ศึกษาทางด้านจิตวิทยาในระดับปริญญาโทและปริญญาเอกมหาวิทยาลัยฮาวาร์ด เมื่อปี ค.ศ. 1915

ได้รับเชิญเป็นประธานสามคมจิตเวชชาวอเมริกัน

ถึงแก่กรรมเมื่อเดือนธันวาคมปี ค.ศ. 1959 ที่รัฐแคลิฟอร์เนีย

เข้าร่วมกิจกรรมกับคณะปรัชญาและจิตวิทยา

สอนที่ Northwestern เป็นเวลา 3 ปี

สอนที่แคลิฟอร์เนีย

หลักการ

เน้นถึงการเกิดการเรียนรู้โดยการใช้ความรู้ความเข้าใจ (Congnitive)

จัดอยู่ในกลุ่มทฤษฎีความรู้ความเข้าใจ (Congnitive Theori)

การเรียนรู้เกิดจากการใช้เครื่องหมายเป็นตัวชี้ทางให้แสดงพฤติกรรมไปสู่จุดหมายปลายทาง

แนวความคิดของทอลแมนคล้ายคลึงกับแนความคิดของพาฟลอฟ

เน้นสิ่งเร้ามากกว่าการตอบสนอง

ถ้าบทเรียนเป็นสิ่งเร้าสิ่งหนึ่งที่จะต้องมีการตอบสนองบางอย่างจะต้องใช้เครื่องหมายมาเน้นอีกสิ่งเร้าหนึ่งคู่กับบทเรียน

เพื่อให้มีการตอบสนองตามต้องการ

บทเรียน (S1)+ เครื่องหมาย (S2)
การตอบสนองคือการเรียนรู้ (R)

การคาดหมายรางวัล (Reward expectancy)

แมวชอบปลา

สุนัขชอบเนื้อ

การเรียนรู้สถานที่ (Place learning)

ถ้ามีการเริ่มต้นไปยังจุดหมายปลายทางได้สำเร็จผู้เรียนจะเลือกแสดงพฤติกรรมนั้นก่อน

เมื่อมีอุปสรรคหรือมีการปิดกั้นเส้นทางที่เคยเดินทางมาสู่จุดหมายปลายทางได้สำเร็จ ผู้เรียนจะปลี่ยนเส้นทางหรือวิธีการเรียนรู้ไปเรื่อยๆเพื่อไปยังจุดหมายปลายทางให้ได้

การเรียนรู้แฝง (Latent learning)

การเรียนรู้เป็นการเปลี่ยนแปลงทางด้านความคิด (Congnitive Domain)

การประยุกต์ใช้

ถ้าต้องการให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้แบบหยั่งเห็น จะต้องใช้เครื่องหมายบางอย่างชี้ทางควบคูไปด้วย การเรียนรู้เครื่องหมายกฎจราจร หรือเรียนรู้สัญลักษณ์ต่างๆเป็นวิธีการเรียนรู้โดยใช้เครื่องหมายของทอลแมน

ผู้สอนต้องตระหนักว่า ผู้เรียนนั้นอาจเกิดการเรียนรู้แล้วแต่มิได้แสดงออกมา ดังนั้นผู้สอนควรมีการทดสอบบ่อยๆ จึงจะทราบว่าผู้เรียนเรียนรู้ไปแล้วมากน้อยเพียงใด

การเรียนรู้ไม่จำเป็นต้องให้การเสริมแรงมากเท่ากับการจูงใจ โดยการสร้างให้เกิดแรงขับ ( Drive) มากๆ เพื่อตองสนองพฤติกรรมไปยังจุดหมายปลายทางที่ต้องการ

การทดลอง

ทอลแมนทดลองโดยให้หนูวิ่งไปในเขาวงกต

เพื่อหาทางออกซึ่งจุดหมายปลายทางคืออาหาร

หนูสามารถหาทางออกได้เสมอ ไม่ว่าจะพบอุปสรรค

เช่น เปลี่ยนเส้นทางเป้าหมาย หรือ ปล่อยให้น้ำท่วม

แสดงให้เห็นว่าหนูสร้างมีความเข้าใจในเส้นทางที่จะไปและใช้สติปัญญาคาดหมายว่าเส้นทางที่จะวิ่งไปนั้นสามารถไปได้

เส้นทางไหนที่สกัดกั้นไว้ ก็จะหลีกเลี่ยงไปใช้เส้นทางอื่น

การที่หนูวิ่งเข้าไปในเขาวงกตแล้วได้รับอาหาร ทอลแมนกล่าวว่า เพราะหนูได้เกิดการเรียนรู้เครื่องหมาย (Sign - Significate Learning) หรือ การเรียนรู้แบบ S-S Theory

mouse-503027