Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วย3 ที่มา ประเภท ศักดิ์ของกฎหมาย, นิรุท ฉิมพิภพ วิชาความรู้เบื้องต้นเ…
หน่วย3 ที่มา ประเภท ศักดิ์ของกฎหมาย
กลุ่มกฎหมายหลัก
กฎหมายอาญา
กฎหมายแพ่ง
กฎหมายปกครอง
(พรบวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง 2539 เป็น กม หลักของกฎหมายมหาชน
ที่มาของกฎหมายลายลักษณ์อักษร
1 กม ลายลักษณ์อักษร
= สำคัญเพราะเป็นกม ส่วนใหญ่
2 จารีตประเพณี
= ที่ยีงมิได้ถูกนำไปบัญญัติเป็น กม.
3 หลักกฎหมาย
Unwritten law
คือ กม ที่ยังไม่ได้ถูกถ่ายทอดออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร
ที่มาของกฎหมายสังคมนิยม
เป็นระบบ กม
ที่แยกมาจากกฎหมายลายลักษณ์อักษร
พรรคคอมมิวนิสต์มีอำนาจสูงสุด
ในการปกครองประเทศ
เป็นกฎหมายลายลักษณ์อักษรและประมวลกม
เป็นที่มา
ที่มาของกฎหมายไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
1 จารีตประเพณี
= เป็นต้นตอของ กม ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
2 คำพิพากษา
= เป็นหลักเกณฑ์ของ กม ที่มั่นคง
3 กฎหมายลายลักษณ์อักษร
4 ความเห็นของนักนิติศาสต
ร์
5 หลักความยุติธรรม
มโนธรรมของผู้พิพากษา
ประเภทของกฎหมาย
กฎหมายภายในประเทศ
กฎหมายลายลักษณ์อักษร
เช่น รัฐธรรมนูญ พรบ ประมวลกฎหมายต่างๆ
กฎหมายที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
เช่น จารีตประเพณี หลักกฎหมายทั่วไป
กฎหมายที่มีสภาพบังคับ
เช่น กฎหมายอาญาและ แพ่ง
กฎหมายที่มีลักษณะการใช้
กฎหมายสารบัญญัติ
ได้แก่ ประมวลกฎหมายอาญาและแพ่งทุกมาตรา
กฎหมายวิธีสบัญญัติ
ได้แก่ ประมวลวิธีพิจารณาความต่างๆประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง(เป็นกฎหมายที่กำหนดหลักวิธีใช้ กม)
กฎหมายที่มีความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับปชช
กฎหมายมหาชน
= เป้น กม ที่กำหนดความสัมพันธ์รัฐกับ ปชช เช่น กม รัฐธรรมนูญ, กม ปกครอง , กม อาญา
กฎหมายเอกชน
= เป็น กม ที่กำหนดระหว่างเอกชนกับเอกชน เช่น กม แพ่ง , พรบ บริษัทมหาชน
กฎหมายภายนอกประเทศ
กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง
คือกฎ ข้อบังคับ
ระหว่างรัฐต่อรัฐที่จะปฎิบัติต่อกัน ได้แก่ กฎบัตรสหประชาชาติ
กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล
คือ ข้อกำหนดความสัมพันธ์ระหว่าง
เอกชนที่อยู่ต่างรัฐกัน
ที่มีความสัมพันธ์ระหว่างกัน
กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีอาญา
คือ ข้อกำหนดการกระ
ทำผิดทางอาญาระหว่างประเทศ
ที่จะร่วมมือในการปราบปรามอาชญากรรม
ศักดิ์ของกฎหมาย
รัฐธรรมนูญ
(เป็นกม แม่บทกำหนดสิทธิ หน้าที่ มีอำนาจสูงสุด กำหนดรูปแบบการปกครองบริหารประเทศ)
พรบประกอบรัฐธรรมนูญ
(รัฐสภา)
ประมวลกฎหมาย(รัฐสภา)
พระราชกำหนด
(เป็น กม ที่
คณะรัฐมนตรี
ได้รับมอบอำนาจจากรัฐธรรมนูญในการออก กม
ในยามฉุกเฉิน
พระราชบัญญัติ
(เป็น กม ที่บัญญัติขึ้นเฉพาะเรื่อง ออกโดย
ฝ่ายนิติบัญญัติ(รัฐสภา)**
พร
บมีศักดิเท่าประมวลกฎหมาย,ปรกาศคณะปฏิวัติ,พระบรมราชโองการ**
เทศบัญญัติ
(เป็นกม ที่ออกตาม พรบ
เทศบาล
ข้อบัญญัติจังหวัด
(เป็น กม ที่ออกตาม พรบ
อบจ
(นายก อบจ)
กฎกระทรวง
(เป็น กม ที่
รัฐมนตรี
ประจำกระทรวงเป็นผู้ออก
พระราชกฤษฎีกา
(เป็นกม ที่
ค.ร.ม.
(ฝ่ายบริหาร) ออก กม เพื่อนำไปปฏิบัติ
ข้อบังคับ อบต
(เป็น กม ที่ออกตามพรบ
อบต
การบริหารราชการแผนดิน(กฎหมายปกครอง)
การบริหารส่วนกลาง
คือ กระทรวง ทบวง กรม
การบริหารส่วนภูมิภาค
คือ จังหวัด
การบริหารส่วนท้องถิ่น
คือ
กทม , พัทยา,
อบจ, อบต,เทศบาล
นิรุท ฉิมพิภพ
วิชาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
40101
หน่วย 2