Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่้5 ความขัดแย้งในการทำงาน‼📝 - Coggle Diagram
บทที่้5 ความขัดแย้งในการทำงาน‼📝
ผลดีและผลเสียของความขัดแย้ง
✅ผลดี
เป็นตัวกระตุ้นให้คนเเสวงหาวิธีต่างๆที่จะนำไปสู่ผลตอบสนองที่ดีขึ้น
ปัญหาที่ถูกซ่อนเร้นอยู่ได้ถูกกนำมาเปิดเผย
กลุ่มคนที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับความขัดแย้ง จะมีความเข้าใจต่อกันอย่างลึกซี้งมากขึ้นหลังจากที่ได้แก้ไขข้อขัดแย้งแล้ว
❌ผลเสีย
เป็นสาเหตุให้เกิดปัญหาทางด้านอารมณ์
ฝ่ายแพ้รู้สึกว่าตนเองไร้ความหมาย
ความร่วมมือและการทำงานร่วมกันเป็นทีมนั้นลดลง เกิดความไม่ไว้วางใจ ความห่างเหินระหว่างบุคคลและกลุ่ม
สาเหตุของความขัดแย้งในองค์การ
ความขัดแย้งที่มีสาเหตุมาจากองค์การ
อารมณ์ขุ่นเคือง
การเข้าใจว่ามีคนจ้องจับผิดตน
การสื่อความหมายที่ผิดและไม่ถูกกับกาลเทศะและบุคคล
ขาดความไว้วางใจต่อกัน
บุคคลิกภาพ
ความขัดแย้งที่มีสาเหตุมาจากความสัมพันธ์ส่วนบุคคล
ความแตกต่างด้านอำนาจ
ความไม่ชัดเจนด้านความรับผิดชอบและอำนาจตัดสินใจ
การแย่งทรัพยากรที่มีจำกัด
การต้องพึ่งพาต่อกันในการปฎิบัติงาน
ความแตกต่างระหว่างบุคคล
การแย่งชิงรางวัลความดีความชอบ
กระบวนการของความขัดแย้ง
ระยะที่1การก่อตัวของการต่อต้านหรือความไม่ลงรอยที่รุนแรงพอ
มูลเหตุ
1.การสื่อความหมาย
การแผลความหมายผิดเพี้ยน
ช่องทางในการสื่อสาร
ความหมายโดดยตรงและความหมายแฝงของคำ
บิดเบือนหรือปรุงแต่งข้อมูล
2.โครงสร้าง
อายุ
เป้าหมายของกลุ่ม
ขนาด ความเชียญชาญของกลุ่ม
ผู้นำ
3.ตัวแปรส่วนบุคคล
ความแตกต่างด้านค่านิยม
ความแตกต่างด้านทักษะ
ความแตกต่างด้านความเชื่อ
ความแตกต่างด้านศาสนา เชื้อชาติ
ระยะที่2ระยะรับรู้ถึงความขัดแย้ง
ความขัดแย้งที่รับรู้
การรับรู้ความขัดแย้งที่มีอารมณ์เกี่ยวข้องด้วย
ระยะที่3ตั้งใจทำอย่างใดอย่างหนึ่งกับความขัดแย้ง
ระยะที่4พฤติกรรมที่แสดงออก
ระดับความขัดแย้งที่ล้างผลาญทำลาย
ใช้กำลังทำร้าย
ให้คำถามชวนทะเลาะ
พยายามทำลายล้่งคู่กรณีทุกวิถีทาง
เทคนิค
เทคนิคข้อยุติความขัดแย้ง
ใช้การหลีกเลี่ยง
ใช้วิธีแก้ปัญหา
เทคนิคส่งเสริมความขัดแย้ง
ใช้การสื่อความหมาย
นำคนภายนอกเข้ามา
ระยะที่5ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากความขัดแย้ง
ผลดี
ช่วยในการตัดสินใจ
ทำให้ปัญหาที่เคยถูกละเลยได้รับการแก้ไข
ช่วยกระตุ้นให้เกิดความคิดแนวใหม่
ผลเสีย
เกิดความเครียด
ทำให้แต่ละฝ่ายเกิดการเล่นพรรคแล่นพวง
พลังความพยายามในการทำงานถดถอยลง
การแก้ปัญหาความขัดแย้ง
การแก้ปัญหาความขัดแย้งแบบชนะ-ชนะ
แต่ละฝ่ายมีทัศนคติที่ดีต่อกัน
ทุกฝ่ายแสดงความต้องการที่แท้จริงออกมา
แต่ละฝ่ายตระว่าความขัดแย้งเกิดขึ้นได้เสมอ
ทั้งสองฝ่ายแสดงช่วยในการตัดสินใจให้กันและกัน
เลี่ยงการใช้คะแนนเสียงข้างมากตัดสินหาข้อที่ยุติ
ทั้งสองฝ่ายแสดงความเอาใจใส่กัน
การแก้ไขความขัดแย้ง 5 วิธี
3.เก็บกดหรือกลบเกลื่อน(ตุ๊กตาหมี)
4.ประนีประนอมหรือเจรจาต่อรอง(สุนัขจิ้งจอก)
2.ใช้อำนาจหรือการบังคับ(ฉลาม)
5.ร่วมมือกันแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง(นกฮูก)
1.ปฎิเสธหรือหลีกเลี่ยง(เต่า)
วิธีแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
แบบMethod
แบบ The Roark-Main Consensus
การประนีประนอมหรือการเจรจาต่อรอง
มีจุดเด่น จุดด้อยในเรื่องใดบ้าง
ให้บุคคลอื่นได้รับวิธีแก้ไขปัญหาที่เป็นการให้เกียรติกัน
มุ่งเน้าที่วิธีการแก้ปัญหา
สังเกตว่าวัตถุประสงค์ของการประนีประนอม
รู้ว่าอะไรคือ Bottom line
การเผชิญหน้าระหว่างผู้บริหารและพนักงาน
ฟ้งอย่างตั้งใจต่อการตอบสนองของพนักงานต่อเรื่องที่เกิดปัญหา
เลือกรูปแบบการสื่อความหมายกับพนักงาน
ศึกษาความสำคัญของปัญหาและเตรียมคำถามไว้สำหรับตอบคำถามให้พนักงาน
นำการสนทนาที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหา
ผู้บริหารมีความสามารถที่จะกำหนดความชัดเจนถึงความขัดแย้ง และพนักงานควรรู้ว่าผู้บริหารอยู่ในฐานะใด
ขจัดการโจมตีส่วนตัว และมุ่งเน้นที่การแก้ปัญหา
ความขัดแย้งในตนเอง
หนีเสือปะจระเข้ เกิดขึ้นเมื่อเราตกอยู่ในสถานการณ์ 2 ประการที่ไม่ปรารถนาทั้งคู่
เกลียดตัวกินไข เกิดขึ้นในสถาการณ์ที่มีทั้งความพอใจและความไม่พอใจอยู่ในสิ่งเดียวกัน
รักพี่เสียดายน้อง เกิดตวามขัดแย้งขึ้นเมื่อเรามีความต้องการพร้อมๆกัน