Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้ออกซิเจนและการดูแลผู้ที่ได้รับออกซิเจน - Coggle Diagram
การให้ออกซิเจนและการดูแลผู้ที่ได้รับออกซิเจน
การดูดเสมหะ
การดูดเสมหะแบบระบบปิด (Close suctioning system)
ไม่ต้องปลดอุปกรณ์ที่กำลังให้ออกชิ เจนแก่ผู้ป่วย สามารถดูดเสมหะผ่าน อุปกรณ์ที่ให้ออกชิเจนแก่ผู้ป่วยได้
การดูดเสมหะแบบระบบเปิด (Open suctioning system)
ปลดอุปกรณ์ที่กำลังให้ออกซิเจน แก่ผู้ป่วยก่อนการดูดเสมหะ
อุปกรณ์
เครื่องดูดเสมหะ
อาจเป็นชนิดติดฝาผนัง หรือเคลื่อนที่ได้ ต้องปรับแรงดันของเครื่องให้เหมาะสม
สายดูดเสมหะ
ระบบเปิด
ผู้ใหญ่ใช้เบอร์ 14-16 Fr.
เด็กเบอร์ 8-12 Fr.
ทารก เบอร์ 4-8 Fr.
ระบบปิด
ขนาดไม่เกิน 12 Fr.
วิธีการ
1. จัดท่านอนศีรษะสูง 30-45 องศา
2. ล้างมือ สวม mask ใส่ถุงมือ
3. เปิดเครื่องดูดเสมหะแรงดันในผู้ใหญ่ไม่เกิน 120 mmHg ในเด็กไม่เกิน 100 mmHg ใน
ทารก 80 mmHg
4. ดูดเสมหะอย่างนุ่มนวล ดูดเสมหะในปากก่อนดูดในท่อ ดูแต่ละครั้งไม่เกิน 10-15 นาที
5. ประเมินภาวะพร่องออกซิเจนและเสียงหายใจ
การให้ออกซิเจน
การเตรียมอุปกรณ์ให้ออกซิเจน
แหล่งออกซิเจน
ออกซิเจนที่บรรจุถัง (Tank or Cylinder)
ออกซิเจนระบบท่อ (Pipe or Oxygen wall)
อุปกรณ์ควบคุมอัตราการไหลของออกซิเจน (oxygen flow meter)
ช่วยกำหนดอัตราการไหลของออกซิเจนจากระบบให้มีค่าคงที
ชนิด 0-70 ลิตรต่อนาที
ชนิด 0-15 ลิตรต่อนาที
อุปกรณ์ทำความชื้น (Humudifier)
ออกซิเจนที่ได้จาก tank หรือ pipeline
เป็นออกซิเจนที่แห้ง ไม่มี
ความชื้น จะทำให้เกิดการระคายต่อหลอดลมทำให้เยื่อบุ (Mucosa)
ทางเดินหายใจแห้ง
ขวดใส่น้ำกลั่นปลอดเชื้อ
อุปกรณ์ควบคุมความชื้น
(Humudifier) โดยเติมน้ำกลั่น (Sterile water)
อุปกรณ์ให้ออกซิเจน
อุปกรณ์การให้ออกซิเจนอัตราการไหลต่ำ (Low-flow oxygen devices)
เป็นการให้ออกซิเจน โดยที่ลมหายใจเข้าส่วนหนึ่งจะมาจาก
บรรยากาศรอบ ๆ ตัว สามารถให้ความเข้มข้นของออกซิเจนได้ ตั้งแต่ 21-80%
Simple nasal cannula
อัตราการไหลผ่านทาง simple nasal cannula ที่ 1 ถึง 6 ลิตรต่อนาท
ความเข้มข้นของออกซิเจนในอากาศที่หายใจเข้าประมาณร้อยละ 24 ถึง 44
เครื่องทำความชื้น ควรเป็น humidifier
ข้อดี
สะดวก ใช้งานง่าย ผู้ป่วยรู้สึกสบาย
สามารถพูดคุยหรือรับประทานอาหารทางปากได้ตามปกติ
เปิด Flow ต่ำ ๆ เพียงใดก็ได้
ข้อเสีย
ระดับความเข้มข้นของออกซิเจนในอากาศที่
ผู้ป่วยได้รับนั้นจะไม่คงที
Fio2 สูงสุดไม่เกิน 0.4
Face mask
Simple oxygen face mask
หน้ากากเป็นรูป Cone Shape เพื่อให้ Fit กับหน้าและจมูกผู้ป่วย ซึ่งต่อกับท่อ
Fio2 ได้สูงกว่า nasal cannula อาจสูงถึง 0.55
ความเข้มข้นของออกซิเจนในอากาศสูง ประมาณร้อยละ 40 ถึง 60
ข้อควรระวัง
ใช้ O2 Flow rate 6-12 ลิตร/นาที
ไม่ควรจ่ายอัตราการไหลของออกซิเจนน้อยกว่า
5 ลิตรต่อนาทีเพราะอาจเกิด
ภาวะคาร์บอนไดออกไซด์คั่งภายในหน้ากาก
สามารถใช้ร่วมกับ humidifier หรือ nebulizer
Oxygen mask with reservoir bag
Non-rebreathing mask
มีวาล์วอยู่ที่บริเวณด้านข้างของหน้ากากเพื่อป้องกันไม่ให้อากาศจากการ
หายใจออกเข้าไปยัง reservoir bag
มีลิ้นทางเดียว (one way valve)
ความเข้มข้นของออกซิเจนที่ผู้ป่วยได้รับประมาณร้อยละ 60 ถึง 90
ปากถุงต่อกับ mask ลมหายใจออกจะย้อนกลับเข้าถุงไม่ได้
Partial-rebreathing mask
เวลาหายใจออกอากาศประมาณ 1 ใน 3 จะเข้าไปผสมอยู่ใน reservoir bag เนื่องจาก
ไม่มีวาล์วกั้นระหว่างหน้ากากกับ reservoir bag
มีรูระบายอากาศที่เชื่อมต่อกับภายนอกบริเวณ ด้านข้างของหน้ากากทั้ง 2 ด้าน
ความเข้มข้นของออกซิเจนประมาณร้อยละ 40 ถึง 70
ถุงมีความจุ 600-800 CC
ไม่ควรต่ำกว่า 6 LPM ถุงต้องโป่งตลอดเวลา ทั้งเวลาหายใจเข้า-ออก
ควรต่อกับ humidifier
ช่วงหายใจเข้า ผู้ป่วยจะได้ O2 จาก Mask และถุง Fio2 อาจถึง 0.65 เมื่อเปิด O2 ไหลเต็มที่
คล้าย simple oxygen face mask แต่ออกซิเจนจะผ่านเข้ามากักเก็บใน reservoir bag
ก่อน จากนั้นอากาศจึงจะถูกส่งต่อให้แก่ผู้ป่วย
เปิดอัตราการไหลของออกซิเจนได้ตั้งแต่ 8 ถึง 15 ลิตรต่อนาที
ข้อดี
ให้ Fio2 ได้สูงกว่า cannula
ระคายเคืองต่อจมูกน้อยกว่า cannula
ข้อเสีย
ผู้ป่วยอาจรู้สึกอึดอัด และรบกวนการทำกิจวัตรประจำวัน
อุปกรณ์การให้ออกซิเจนอัตราการไหลสูง (High-flow oxygen devices)
High flow oxygen system
เครื่องมือที่ให้ออกซิเจน มี reservoir สามารถให้ได้ทั้งความ
เข้มข้นของออกซิเจนในระดับต่ำและระดับสูง
ข้อดี
สามารถควบคุมความเข้มข้นของออกซิเจน
(FiO2) ได้รับไม่เปลี่ยนแปลง
ตามลักษณะการหายใจของผู้ป่วย
สามารถควบคุมปริมาณความชื้นและอุณหภูมิ ของแก๊สได้คงที่
ambu bag
ใช้ในกรณีที่ผู้ป่วยเกิดภาวะ respiratory failure หรือ
cardiopulmonary resuscitation
ครอบ face mask ให้แนบกับใบหน้าผู้ป่วยและใช้มือบีบที่
reservoir bag
ทิศทางการไหลของอากาศเพื่อไล่อากาศดีให้เข้า ไปในปอดของผู้ป่วยและปล่อย
อากาศจากลมหายใจออกของผู้ป่วยออกไปสู่ภายนอก ไม่วนกลับมาใช้อีก
Venturi mask
คล้าย simple oxygen face mask แต่มีท่อพลาสติกขนาดใหญ่ขดเป็นงวงยาวปลายต่อจากหน้ากากปลายท่ออีกข้างหนึ่งต่อกับตัว ปรับ (Jet adaptor) พลาสติกซึ่งต่อกับท่อนำ O2 ขนาดเล็ก มีช่องเปิดด้านข้าง
ให้อากาศภายนอกไหลผสมกับ O2 ที่ผู้ป่วยหายใจเข้า
อาศัยกลไกการทำงานขณะ O2 พุ่งผ่านท่อ
แคบ ๆ แรงดันจะสูง ส่วนแรงดันผิวท่อขณะนั้นจะต่ำทำให้อากาศ
โดยรอบไหลเข้ารูผิวท่อได้มาก
Collar Mask
ใช้ในผู้ป่วยเจาะคอ
หน้ากากเล็ก ๆ ที่สวมอยู่รอบ Tracheostomy tube
นิยมใช้ เครื่องทำความชื้น humidifier โดยมีการติดเชื้อน้อยกว่า nebulizer
ลดการกระตุ้นการไอจากฝอยละอองน้ำ
T- Piece (T- Tube)
O2 ผ่านทาง ET หรือ TT จะไม่ได้รับความชื้นจากโพรงจมูก
เครื่องทำความชื้น
ที่เหมาะสมคือ nebulizer
ปลายอีกข้างหนึ่งต่อกับ Corrugate tube ซึ่งนำ O2
Fio2 ค่อนข้างสูง
อัตราการไหลของ O2 ไม่ต่ำ 5-6 ลิตร/นาที
Oxygen tent
ความเข้มข้นและความชื้นสูง สามารถปรับอุณหภูมิ
ได้ ผู้ป่วยได้รับความสุขสบายมากที่สุด (ส่วนใหญ่ใช้ในผู้ป่วยเด็ก)
การให้ออกซิเจน ตั้งแต่ 8-10 ลิตร/นาที ได้ Fio2 60%
ข้อเสีย
ไม่สามารถสังเกตลักษณะของผู้ป่วยได้เต็มที่
ไม่สะดวกในการให้การพยาบาล เปิด Tent บ่อย ๆ ทำให้ความเข้มข้นของออกซิเจน ลดลง
ไม่ใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าใด ๆ ใน Tent
High-flow nasal oxygen cannula
อุปกรณ์ที่บริหารออกซิเจนด้วยอัตราการไหลสูง ผ่านทาง nasal cannula ชนิดพิเศษ
สามารถกำหนดอัตราการไหลของอากาศผสมได้มากที่สุดเท่ากับ 60 ลิตรต่อนาที
สามารถปรับระดับความเข้มขันของออกซิเจนได้ตั้งแต่ร้อยละ 21 ถึง 100
การที่อากาศผสมที่ผู้ป่วยได้รับมีความชื้นรวมถึงอุณหภูมิที่เหมาะสมยังช่วย
ให้การขับเสมหะมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
การพยาบาลผู้ป่วยรับ O2
1. การให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา
2. สังเกตลักษณะการหายใจ
3. กระตุ้นผู้ป่วยไอเอาออกเสมหะ หรือดูดเสมหะทุกครั้งที่ได้ยินเสียงเสมหะ
4. ทำความสะอาดปาก ฟัน ทุก 4 ชั่วโมง เพราะลดการระคายเคืองเยื่อบุได้
5. ทำความสะอาดอุปกรณ์ทุก 6-10 ชั่วโมง เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
6. สังเกตพฤติกรรมของผู้ป่วยภายหลังได้รับ ออกซิเจน เช่น ลักษณะการหายใจ และชีพจรอาการกระสับกระส่าย ระดับความรู้สึกตัว
7. สำรวจเครื่องทำความชื้น มีน้ำเพียงพอหรือไม่ เพื่อป้องกันระคายเคือง
8. สังเกตและบันทึกสัญญาณชีพ
9. ตรวจออกซิเจนในเลือด