Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 ทฤษฎีในการสร้างเสริมสุขภาพ, A6480122 นางสาวประดิภา แสนทวีสุข -…
บทที่ 2
ทฤษฎีในการสร้างเสริมสุขภาพ
ทฤษฎีแรงสนับสนุนทางสังคม
(Social Support Theory)
แหล่งที่มาของการสนับสนุน
ระบบการสนับสนุนตามธรรมชาติ
จากครอบครัว ญาติพี่น้อง ซึ่งถือว่ามีความสำคัญมากที่สุด
ระบบสนับสนุนจากกลุ่มเพื่อน
ได้รับจากบุคคลซึ่งมีประสบการณ์ มีความ ช้านาญในการที่จะค้นคว้าหาความต้องการและ สามารถติดต่อชักจูงผู้ป่วยได้โดยง่าย
ระบบสนับสนุนด้านศาสนาหรือแหล่ง อุปถัมภ์ต่างๆ
เป็นแหล่งที่จะช่วยให้ผู้ป่วยได้มีการ แลกเปลี่ยนความเชื่อ ค่านิยม คำสอน คําแนะนําเกี่ยวกับวิถีการดารงชีวิตและ ขนบธรรมเนียมประเพณีต่างๆ
ระบบการสนับสนุนจากกลุ่มวิชาชีพด้านสุขภาพ
เป็นแหล่งการสนับสนุนเป็นแห่งแรกเช่น แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่ สาธารณสุข
ระบบการสนับสนุนจากกลุ่มวิชาชีพอื่นๆ
เป็นการสนับสนุนจากกลุ่มบริการอาสาสมัคร
ประเภทของการสนับสนุนทางสังคม
การสนับสนุนด้านอารมณ์ (Emotional support) การใกล้ชิดสนิทสนม
การสนับสนุนด้านการประเมิน (Appraisal support) ได้แก่ การได้รับข้อมูลย้อนกลับ
การสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสาร (Information support) เป็นการได้รับคำแนะนำ คำเตือนนำไปแก้ไขปัญหาที่กำลังเผชิญอยู่ได้
การสนับสนุนด้านการเงิน แรงงานและสิ่งของ (Instrumental support)การช่วยเหลือโดยตรงความจาเป็นพื้นฐาน
แนวคิดนี้มีประโยชน์มากในการสร้างเครือข่ายเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ และการดูแลรักษาโรคเรื้อรัง กลุ่มผู้ติดเชื้อเอดส์ กลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มส่งเสริมสุขภาพ เช่น กลุ่มแอร์โรบิค กลุ่มวิ่ง กลุ่มปั่นจักรยาน กลุ่มปฏิบัติธรรม
PRECEDE-PROCEED Model
PRECEDE
กระบวนการของการใช้ปัจจัยนำ ปัจจัยเอื้อ และปัจจัยเสริม ในการวินิจฉัยโครงสร้าง ทางการศึกษา
PROCEED
นโยบาย กฎระเบียบ และโครงสร้างของ ใน การพัฒนาการศึกษาและสิ่งแวดล้อม
การวิเคราะห์ทางสังคม
(Phase1 : Social Assessment)
การพิจารณา และวิเคราะห์ คุณภาพชีวิต เพื่อค้นหา ข้อมูล และประเมินปัญหาด้านสังคมที่ส่งผล กระทบต่อคุณภาพชีวิต (Quality of Life: QOL) ของประชากร
การวิเคราะห์ทางระบาดวิทยา (Phase 2 : Epidemiological Assessment)
วิเคราะห์ว่ามีปัญหาสุขภาพที่สาคัญ จัดเรียงลาดับความสาคัญของ ปัญหา เพื่อประโยชน์ในการวางแผน การดาเนินงานสุขศึกษาได้อย่างเหมาะสม
การวิเคราะห์ด้านพฤติกรรม
(Phase 3 : Behavioral Assessment)
จากปัจจัยปัญหาด้านสุขภาพอนามัยที่ได้ในขั้นตอนที่ 1-2 จะนำมาวิเคราะห์ต่อเพื่อหาสาเหตุที่ เกี่ยวข้อง โดยแบ่งเป็นสาเหตุอันเนื่องมาจากพฤติกรรมของบุคคลและสาเหตุที่ไม่เกี่ยวข้องกับ พฤติกรรม เช่น สาเหตุจากพันธุกรรม หรือสภาวะเศรษฐกิจ เป็นต้น
การประเมินในระยะที่ 1-3 ช่วยให้สามารถกำหนดจุดประสงค์ที่ต้องการให้ บรรลุตามเป้าหมาย ภายหลังการดาเนินงานตามแผนงานโครงการแล้ว
การวิเคราะห์ทางการศึกษา
(Phase 4 : Educational Assessment)
ปัจจัยนำ (Predisposing Factors) เป็นพื้นฐาน และก่อให้เกิดแรงจูงใจใน การแสดงพฤติกรรมของบุคคล เช่น ความรู้ ความเชื่อ ค่านิยม ทัศนคติ เป็นต้น
ปัจจัยเอื้อ (Enabling Factors) คุณลักษณะของสิ่งแวดล้อม ทั้งด้านกายภาพและ สังคมวัฒนธรรม ทักษะส่วนบุคคล
ปัจจัยเสริม (Reinforcing Factors) สิ่งที่บุคคลจะได้รับ หรือคาดว่าจะได้รับจาก บุคคลอื่น จากครอบครัว เพื่อน ครู บุคลากร ทางการแพทย์หรือสาธารณสุข
การวิเคราะห์ทางการบริหาร
(Phase 5 : Administrative and Policy Assessment)
เป็นการประเมินความสามารถของการบริหาร และนโยบายของการจัดการโครงการส่งเสริม สุขภาพ เพื่ออธิบายถึงแหล่งทรัพยากรขององค์กรที่ต้องการสร้างแผนงาน
การปฏิบัติการ (Phase 6 : Implementation)
ดำเนินงานตามกลวิธี วิธีการและกิจกรรม
การประเมินกระบวนการ
(Phase 7 : Process Evaluation)
ประเมินถึงปัจจัยด้านการบริหารจัดการ
การประเมินผลกระทบ
(Phase 8 : Impact Evaluation)
ประเมินผลลัพธ์ที่เกิดจากการดาเนินโครงการในระยะสั้น
การประเมินผลลัพธ์
(Phase 9 : Outcome Evaluation)
ประเมินคุณภาพชีวิต ของกลุ่มเป้าหมายได้
นำมาประยุกต์ใช้ในการวางแผนและประเมินผล โครงการส่งเสริมสุขภาพและสุขศึกษา โดยเฉพาะ PRECEDE Model ใช้เป็นกรอบในการวางแผนสุขศึกษาและการมีส่วนร่วมของ กลุ่มเป้าหมาย
แบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพ
(Health Promotion Model : HPM)
ลักษณะเฉพาะและประสบการณ์ของบุคคล
(Individual Characteristics and Experiences)
พฤติกรรมที่เกี่ยวข้อง
(Prior related behavior)
ปัจจัยส่วนบุคคล
(Personal Factors)
ปัจจัยด้านชีววิทยา ปัจจัยด้านจิตวิทยา ปัจจัยด้านสังคมวัฒนธรรม
ความคิดและอารมณ์ต่อพฤติกรรม
(Behavior-Specific Cognition and Affect)
การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรม (Perceived Benefits of Action)แรงเสริมทาให้บุคคลเกิดแรงจูงใจในการปฏิบัติพฤติกรรม
การรับรู้อุปสรรคในการปฏิบัติพฤติกรรม (Perceived Barriers to Action) ความเชื่อหรือการรับรู้ถึงสิ่งขัดขวางที่ทำให้บุคคลไม่สามารถปฏิบัติพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
การรับรู้ความสามารถของตนเอง
(PerceivedSelf-Efficacy) หมายถึง ความ เชื่อมั่นของบุคคลเกี่ยวกับความสามารถของตนเองในการบริหารจัดการและกระทาพฤติกรรมใดๆ
ความรู้สึกที่มีต่อพฤติกรรม
(Activity-Related Affect)
หมายถึง ความรู้สึกใน
ทางบวกหรือลบที่เกิดขึ้นก่อน
ระหว่าง และหลังการปฏิบัติพฤติกรรม
อิทธิพลระหว่างบุคคล
(Interpersonal Influences)
ครอบครัว (พ่อ แม่ พี่ น้อง
อิทธิพลระหว่างบุคคล (Interpersonal Influences) ครอบครัว (พ่อ แม่ พี่ น้อง
พฤติกรรมผลลัพธ์
(Behavioral Outcome)
ความมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติพฤติกรรม เป็นพฤติกรรมซึ่งสอดคล้องกับเวลา บุคคล สถานที่ โดยอาจหาร่วมกับผู้อื่น
ความจำเป็นอื่นและทางเลือกอื่นที่เกิดขึ้น เป็นพฤติกรรมอื่นที่เกิดขึ้นทันทีทันใดก่อนที่จะเกิดพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ จุดสุดท้ายและผลจากการปฏิบัติพฤติกรรมในแบบจําลอง เสริมสุขภาพ
การส่งเสริมสุขภาพในแต่ละบุคคลนั้นมีเหตุผลแตกต่างกัน พยาบาลควรแนะนำ วิธีการที่เหมาะสมสำหรับแต่ละบุคคล ส่งเสริมให้เห็นความสำคัญของสุขภาพ และ ความสำคัญของตนเอง เสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติการส่งเสริม สุขภาพสนับสนุนให้กระทำกิจกรรมนั้นอย่างสม่ำเสมอและยาวนาน
แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ
(Health Belief Model: HBM)
แนวคิด
การรับรู้ของบุคคลความเชื่อว่า มีโอกาลเสี่ยงต่อการเป็นโรค
ปัจจัยร่วม (Modifying Factors) - เป็นปัจจัยที่มีผลโดยตรงต่อพฤติกรรมสุขภาพ แต่เป็นปัจจัยพื้นฐานที่จะส่งผลไปถึงการรับรู้และ การปฏิบัติ ได้แก่ ปัจจัยด้านประชากร ปัจจัยด้านสังคมจิตวิทยา ปัจจัยโครงสร้างพื้นฐาน
องค์ประกอบของแบบจำลองความเชื่อด้านสุขภาพ
การรับรู้ต่อโอกาสเสี่ยงของการเป็นโรค ความเชื่อหรือการคาดคะเนว่า คนมีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรคหรือปัญหาสุขภาพนั้น ความเชื่อต่อความถูกต้องของการวินิจฉัยโรคของแพทย์ การคาดคะเน ถึงโอกาสการเกิดโรค
การรับรู้ความรุนแรงของโรค ความเชื่อที่บุคคลเป็นผู้ประเมินเองในด้านความรุนแรงของโรคที่มีต่อร่างกาย การก่อให้เกิดพิการ เสียชีวิต
การรับรู้ประโยชน์ที่จะได้รับและค่าใช้จ่าย - การที่บุคคลแสวงหาวิธีการปฏิบัติให้หายจากโรคหรือป้องกันไม่ให้เกิดโรค ความเชื่อว่าค่าใช้จ่ายซึ่งเป็นข้อเสีย หรืออุปสรรคของการปฏิบัติในการป้องกัน และ รักษาโรค
แรงจูงใจด้านสุขภาพ ระดับความสนใจ ความสนใจสุขภาพโดยทั่วไปของบุคคล ความเชื่อต่อความรุนแรงของโรค ความเชื่อต่อผลดีจากการปฏิบัติ
ปัจจัยร่วม ปัจจัยที่มีส่วนช่วยส่งเสริมหรือเป็นอุปสรรคต่อการที่บุคคลจะปฏิบัติเพื่อการป้องกันโรค หรือการ ปฏิบัติตามคำแนะนาในการรักษาโรค
การประยุกต์ใช้แบบจำลองความเชื่อด้านสุขภาพ
การรับรู้ต่อโอกาสเสี่ยงของการเป็นโรค
ประเมินความเสียง (การคัดกรอง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง มะเร็ง ของการเป็นโรค ปากมดลูก)
การรับรู้ความรุนแรงของโรค
วิเคราะห์ผลเสียที่จะเกิดตามมาจาก ความผิดปกติหรือความเจ็บป่วยในทุกๆ ด้าน เช่น สุขภาพ การทำงาน ชีวิตครอบครัว ชีวิตในสังคมให้ข้อมูลที่เป็นจริง
การรับรู้ประโยชน์ที่จะได้รับและ ค่าใช้จ่าย
ร่วมกันกำหนดพฤติกรรมที่ควรปฏิบัติให้ชัดเจน อธิบายถึงประโยชน์ที่คาดว่าจะเกิดจาก การปฏิบัติพฤติกรรม
การรับรู้อุปสรรค
ค่าใช้จ่ายความไม่สะดวกของ บริการ จัดสิ่งแวดล้อมหรือบริการที่เอื้อต่อการปฏิบัติ ลดการรับรู้อุปสรรคต่างๆ
ปัจจัยกระตุ้นการปฏิบัติ
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการปฏิบัติให้ชัดเจน กระตุ้นการตระหนักรู้ ให้ครอบครัว กลุ่มเพื่อนเข้ามามีส่วนร่วมในการจูงใจ ติดตามให้ความช่วยเหลือ ให้กำลังใจ กระตุ้นเตือน ใจและกระตุ้นเตือน
การนำเอาแบบแผนความเชี่ยด้านสุขภาาณาโร่ในการจัดกิจกรรมเพื่อพฤติกรรม ป้องกันโรค เช่น การตรวจค้านมด้วยตนเอง การใช้ถุงยางอนามัย
การสร้างเสริมพลังอำนาจ (Empowerment)
ประเภทของการสร้างเสริมพลังอำนาจ
สอดคล้องกันระหว่างความเชื่อ ค่านิยม และการกระทำ มั่นใจที่จะปฏิบัติพฤติกรรมนั้นได้สำเร็จ ควบคุมงานที่รับผิดชอบ มีอิทธิต่อผลลัพธ์ที่คาดหวัง
การสร้างเสริมพลังอานาจเชิงโครงสร้าง ทำให้เกิด ประสิทธิผลในการทํางาน และองค์กรประสบความสําเร็จ
ลักษณะของการสร้างเสริมพลังอำนาจ
การสร้างเสริมทานาจระดับบุคคลและระดับกลุ่ม
แหล่งที่มาของอำนาจ คือ ตำแหน่งหรือหน้าที่ การควบคุมทรัพยากรต่างๆ ความสัมพันธ์ทางสังคม ความเชี่ยวชาญ การมีข้อมูล อำนาจที่เกิดจากคุณสมบัติ หรือบุคลิกลักษณะส่วนตัว
ขั้นตอนของการสร้างเสริมพลังอานาจ คือ discovering reality critical reflection Toiking charge holding
การสร้างเสริมพลังอำนาจเป็นกลไกที่ถือได้ว่าเป็นหัวใจของแนวทางซึ่งหมายถึง “สร้าง” น้า “ซ่อน” การให้ความสำคัญกับการสร้างความแข็งแกร่งทางด้านสุขภาพองค์รวม เพื่อป้องกัน การเกิดโรคภัยไข้เจ็บหรือปัญหาด้านสุขภาพองค์รวมที่ร้ายแรง
ทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
Trans theoretical Model Stage of Change: TTM
ขั้นก่อนชั่งใจ (Pre-contemplation stage) ยังไม่มีความสนใจที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ใน 6 เดือนข้างหน้า ไม่ตระหนักรู้ไม่คิดว่าสิ่งที่อยู่ ณ ปัจจุบัน เป็นปัญหา หรือมีความ จำเป็นที่จะต้องทาการปรับเปลี่ยน
ขั้นสั่งใจ (Contemplation stage) ตระหนักรู้ว่ามีปัญหา แต่ยังไม่คิดที่จะทำการปรับเปลี่ยนและมีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในอีก 6 เดือนข้างหน้า
ขั้นเตรียมพร้อมที่จะปฏิบัติ (Preparation stage / Determination) เตรียมตัวเริ่มมี ความพร้อมที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในอีก 1 เดือน ข้างหน้า
ขั้นปฏิบัติ (Action stage) เชื่อมั่นในศักยภาพของตนเอง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อยู่ ในช่วง 6 เดือนแรกของ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (ไม่เกิน 6 เดือน)
ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance) สามารถคงไว้ซึ่งพฤติกรรมใหม่อย่างสม่ำ เสมอได้นานมากกว่า 6 เดือน
ขั้นยุติพฤติกรรมเดิมอย่างถาวร (Termination) ไม่มีอะไรมาเย้ายวนให้กลับไปทำ พฤติกรรมเดิมได้อีก สามารถมั่นใจได้ 100% มีการเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างถาวรตลอดชีวิต
หลักกระบวนการช่วยเปลี่ยนแปลง Process of Change
การปลุกจิตสำนึก (consciousness raising) เป็นการใช้วิธีต่างๆ บอกให้รู้ ผลเสียของการไม่เปลี่ยน และผลดีของการเปลี่ยนพฤติกรรม
การระบายความรู้สึก (Dramatic relief) เพื่อกระตุ้นหรือผลักดันจิตใจ อารมณ์ให้เกิดความอยากเปลี่ยนแปลง
การใคร่ครวญผลต่อสังคมรอบข้าง (social reevaluation) เช่น นึกต่อไปว่า ถ้าตนเองดื่มแอลกอฮอล์จัดอยู่ ต่อไปลูกๆจะเป็นอย่างไร หรือผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่ สนใจควบคุมอาหารจนท่าให้เกิดภาวะแทรกซ้อน
การใคร่ครวญผลต่อตนเอง (self reevaluation) เช่นจินตนาการว่าถ้าเอาแต่ นอนโซฟาดูทีวี ภาพของตนเองต่อไปจะเป็นอย่างไร
การปลดปล่อยตนเอง (self liberation) คือการพยายามให้มีทางเลือกในการ เปลี่ยนแปลง งานวิจัยบ่งชี้ว่าถ้าคนเรามีทางเลือกสองทาง จะมีความมุ่งมั่นมากกว่า มีทางเลือกทางเดียว ถ้ามีทางเลือกสามทาง จะมีมุ่งมั่นมากกว่ามีทางเลือกสองทาง
การปลดปล่อยสังคม (social liberation) ปลดปล่อยจากการถูกกดขี่เอาเปรียบทางสังคมมา
ให้เรียนรู้สิ่งตรงกันข้าม (counterconditioning) เช่นให้เรียนรู้การ สนองตอบแบบผ่อนคลายเพื่อแก้ปัญหาเครียด
บังคับให้ทาสิ่งที่ดีกว่าทางอ้อม (stimulus control) สร้างที่จอดรถให้ห่าง ที่ทำงาน เพื่อบังคับให้ต้องเดิน
จงใจใช้แผนกระตุ้น (contingency management) เช่น การตกรางวัลถ้า ทำสิ่งที่ดีกว่าการชื่นชมผลงาน
กัลยาณมิตร (helping relationship) เช่นการเป็นที่ปรึกษาทางโทรศัพท์ให้ การมีบัดดี้คอยสนับสนุน
จะเห็นว่าเทคนิคที่เกี่ยวข้องกับความรู้ หรือปรับทัศนคติมักเหมาะกับผู้ที่อยู่ในระยะแรกๆ หรือผู้ที่ยังไม่ตัดสินใจ ยังไม่วางแผน ในขณะ เทคนิค ช่วยให้พฤกรรมใหม่คงไว้ นักเหมาะกับผู้ที่อยู่ในระยะที่ต้องการให้พฤติกรรมมี ความคงเส้นคงวา หรือต้องการให้เกิดความต่อเนื่อง
A6480122 นางสาวประดิภา แสนทวีสุข