Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฏีการเรียนรู้ - Coggle Diagram
ทฤษฏีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีเกสตัลท์(Gestalt Theory)
รับรู้สึกต่าง ๆ เป็นภาพรวม
รับรู้
การหยั่งเห็น
การประยุกต์ใช้
เสนอภาพรวมแล้วแยกเป็นส่วนย่อย
นำประสบการณ์เชื่อมโยงการเรียนรู้
นำเสนอเนื้อหาให้เกิดความต่อเนื่อง
ทฤษฎีสนาม(Field Theory)
การประยุกต์ใช้
ทำความเข้าใจผู้เรียน
จัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม
สร้างแรงจูงใจ
แรงจูงใจหรือแรงขับที่จะกระทำให้ไปสู่จุดหมายปลายทางที่ตนต้องการ
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา(Intellectual Development Theory)
พัฒนาการทางสติปัญญญาของบุคคลที่เป็นไปตามวัย
การประยุกต์ใช้
จัดประสบการณ์ให้เหมาะสมกับผู้เรียน
สนใจและสังเกตผู้เรียน
ส่งเสริมผู้เรียนให้ทำกิจกรรมอย่างหลากหลาย
กระบวนการทางสติปัญญา
ซึมซับ+ปรับ+เก็บ
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา(Intellectual Development Theory)
เลือกที่จะรับรู้สิ่งที่ตนเองสนใจ
และการเรียนรู้เกิดจากระบวนการการค้นพบด้วยตนเอง
การประยุกต์ใช้
ให้ผู้เรียนคิดอย่างอิสระ
จัดกระบวนการเรียนรู้ให้เหมาะกับวัย
สอนความคิดรวบยอดให้กับผู้เรียน
ทฤษฏีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย(A Theory of Meaningful Verbal Learning)
การเรียนรู้จะมีความหมายแก่ผู้เรียน หากการเรียนรู้นั้นสามารถเชื่อมโยงกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่รู้มาก่อน
การประยุกต์ใช้
จัดเรียงข้อมูลให้เป็นหมวดหมู่
แบ่งบทเรียนเป็นหัวข้อสำคัญ
นำเสนอกรอบแนวคิด
ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism)
กระบวนการปรับโครงสร้างทางปัญญา พัฒนาการเกิดขึ้นเมื่อบุคคลรับและซึมซาบข้อมูลหรือประสบการณ์ใหม่เข้าไปสัมพันธ์กับความรู้หรือโครงสร้างทางปัญญาที่มีอยู่เดิม
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน (Constructionism)
หากผู้เรียนมีโอกาสได้สร้างความคิดและนำความคิดของตนเองไปสร้างสรรค์ชิ้นงานโดยอาศัยสื่อและทคโนโลยีที่เหมาะสม จะทำให้เห็นความคิดนั้นเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน
ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of Multiple Intelligences)
การแก้ปัญหาในสภาพแวดล้อมหรือการสร้างสรรค์ผลงานต่างๆซึ่งจะมีความสัมพันธ์กับบริบททางวัฒนธรรม
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Theory of Cooperative or Collaborative Learning)
กลุ่มที่มีความสามารถแตกต่างกันประมาณ 3 – 6 คน ช่วยกันเรียนรู้เพื่อไปสู่เป้าหมายของกลุ่ม
ทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลผลข้อมูล
การเรียนรู้ของมนุษย์โดยเปรียบเทียบการทำงานของคอมพิวเตอร์กับการทำงานของสมอง
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
(Edward Thorndike)
การลองผิดลองถูก” (Trial and Error)
กฏการเรียนรู้
กฎแห่งความพร้อม (Readiness)
สำรวจความพร้อมของผู้เรียนก่อนเรียน
กฎแห่งการฝึกหัด (Exercise)
ฝึกทักษะการปฏิบัติให้ชำนาญ
กฎแห่งการใช้ (Law of Use)
ให้โอกาศผู้เรียนลองผิดลองถูก
กฎแห่งผลการตอบสนอง (Effect)
ให้ผู้เรียนรับผลที่พึงพอใจ
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
การประยุกต์ใช้
นำความต้องการตามธรรมชาติของผู้เรียนมาเป็นสิ่งเร้า
เสนอสิ่งที่จะสอนไปพร้อม ๆ กับสิ่งเร้าที่นักเรียนชอบกับธรรมชาติ
นำเรื่องที่ผู้เรียนเรียนรู้แล้วมาสอนใหม่เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ตามต้องการ
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข ซึ่งเชื่อมโยงกับสิ่งเร้าตามธรรมชาติ และหยุดลงหลังไม่ได้รับการตอบสนอง เมื่อนานไปสามารถกลับมาได้อีก
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำของ สกินเนอร์
การประยุกต์ใช้
เสริมแรงหลังการตอบสนองของผู้เรียน
เว้นการเสริมแรงอย่างไม่เป็นระบบ
เว้นการลงโทษที่รุนแรง
การกระทำที่ได้รับ
ไม่ได้รับการเสริมแรง
การกระทำเกิดน้อยลง
การลงโทษ
เรียนรู้เร็ว แต่ลืมง่าย
การเสริมแรง
การกระทำเกิดขึ้นอีก
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยม
ทฤษฎีการเรียนรูของรอเจอร์ส
มนุษย์จะสามารถพัฒนาตนเองได้ดีหากอยู่ในสภาพการณ์ที่ผ่อนคลายและเป็นอิสระ
การประยุกต์ใช้
จัดบรรยากาศการเรียนที่เป็นอิสระและผ่อนคลาย
ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้
เน้นการเรียนรู้กระบวนการ
ทฤษฎีความต้องการของมนุษย์ของ Maslow
มนุษย์ทุกคนล้วนมีความต้องการและจะสนองความต้องการให้กับตนเอง
การประยุกต์ใช้
ทำความความเข้าความต้องการพื้นฐานของมนุษย์
หาวิธีการที่ตอบสนองต่อการยอมรับจากสังคม
ให้อิสรภาพให้การเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบผสมผสาน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มผสมผสานของกาเย่(Gagne’s eclecticism)
หลักการสอน 9 ประการ
ชี้แนะแนวทางการเรียนรู้ (Guide Learning)
กระตุ้นการตอบสนองบทเรียน (Elicit Response)
นำเสนอเนื้อหาใหม่ (Present New Information)
ให้ข้อมูลย้อนกลับ (Provide Feedback)
ทบทวนความรู้เดิม (Activate Prior Knowledge)
ทดสอบความรู้ใหม่ (Assess Performance)
บอกวัตถุประสงค์ (Specify Objective)
สรุปและนำไปใช้(Review and Transfer)
เร่งเร้าความสนใจ (Gain Attention)