Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีเสริมสร้างสุขภาพ - Coggle Diagram
ทฤษฎีเสริมสร้างสุขภาพ
PRECDE-PROCEED Model
ขั้นที่1 วิเคราะห์ทางสังคม Social Assessment
เป็นการพิจารณา และวิเคราะห์ คุณภาพชีวิต
ขั้นที่ 2 การวิเคราะห์ทางระบาดวิทยา Epidemiological Assessment
วิเคราะห์ว่ามีปัญหาสำคัญอะไรบ้าง
ขั้นที่ 3 การวิเคราะห์ด้านพฤติกรรมBehavioral Assessment
นำมาวิเต่อเพื่อหาสาเหตุที่เกี่ยวข้อง
ขั้นที่ 4 การวิเคราะห์ทางการศึกษา Educational Assessment
ประเมินสาเหตุของพฤติกรรม ประกอบด้วย3 กลุ่มปัจจัย
ขั้นที่ 5 Administrative and Policy Assessment
ประเมินความสามารถของการบริหาร
ขั้นที่ 6 การปฏิบัติ Implementation
ดำเนินตามกลวิธี วิธีการและกิจกรรมโดยแต่ละเรื่องและประเด็น ที่กำหนด
ขั้นที่ 7 การประเมินกระบวนการ Process Evaluation
ประเมินถึงปัจจัยด้านบริหารจัดการ ที่มีผลการดำเนินที่วางแผนไว้
ขั้นที่ 8 การประเมินผลกระทบ Impact Evaluation
ประเมินผลลัพธ์ที่เกิดจากการดำเนินโครงการในระยะสั้น
ขั้นที่ 9 การประเมินผลลัพธ์ Outcome Evaluation
ประเมินผลรวบยอดของวัตถุประสงค์ ประโยชน์ที่ได้รับ
การสร้างเสพลังอำนาจ (Empowerment)
กระบวนการช่วยให้บุคคลตระหนัก และค้นหาความสามารถหรือความเข้มแข็งอยู่ในตัวเองเพื่อให้มีความมั่นใจในการดูแลสุขภาพ
กระบวนการเสริมสร้างพลังอำนาจ ทำให้บุคคลเปลี่ยนแปลงดังนี้
สามารถตัดสินใจด้วยตนเอง
มีทางอย่างกว้างขวาง
มีความคทางบวกและความสามารถที่จะเปลี่ยนแปลง
มีความสามารถในการคิดเชิงรุกเพื่อประกอบการตัดสินใจ
มีความสามารถที่จะปรับเปลี่ยนการรับรู้ของผู้อื่นโดยวิธีประชาธิปไตย
ประเภทการสร้างเสริมพลังอำนาจ
1.การสร้างเสริมพลังอำนาจเชิงจิตใจ
2.การสร้างเสริมพลังอำนาจเชิงโครงสร้าง
ขั้นตอนการเสริมสร้างพลังอำนาจ
discovering reality การค้นพบความจริง
2.critical reflection พิจารณาไตร่ตรอง สะท้อนคิด
Taking charge ดำเนินการตัดสินใจเลือกวิธีการปฏิบัติที่เหมาะสม
holding มั่นใจควบคุมสถานการณ์ได้
ทฤษฎีแรงสนับสนุนทางสังคม (Social Support Theory)
แหล่งที่มาของการสนับสนุนทางสังคม
ระบบการสนับสนุนทางธรรมชาติ
ระบบการสนับสนุนจากกลุ่มเพื่อน
ระบบสนับสนุนด้านศาสนา หรือแหล่งอุปถัมภ์ต่างๆ
ระบบสนับสนุนจากกลุ่มวิชาชีพด้านสุขภาพ
ระบบการสนับสนุนจากกลุ่มวิชาชีพอื่นๆ
ประเภทของการสนับสนุนทางสังคม
การสนับสนุนด้านอารมณ์ (Emotional support)
การสนับสนุนด้านการประเมิน (Appraisal support)
การสนับสนุนข้อมูลด้านข่าวสาร (Information support)
การสนับสนุนด้านการเงิน แรงงานและสิ่งของ (Instrumental support)
ทฤษฎีแรงสนับสนุนทางสังคม
แนวคิดนี้มีประโยชน์มากในการสร้างเครือข่ายเพื่อการส่งเสริมกละการดูแลโรคเรื้อรัง
กลุ่มผู้ติดเชื้อเอดส์
กลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มส่งเสริมสุขภาพ เช่น เต้นแอร์โรบิค กลุ่มวิ่ง เป็นต้น
แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ
(Health Belief Model : HBM)
ปัจจัยร่วม (Modifying Factor)
ปัจจัยที่ไม่มีผลโดยตรงต่อพฤติกรรมสุขภาพ
ปัจจัยด้านประชากร
ปัจจัยด้านสังคมจิตวิทยา
ปัจจัยโครงสร้างพื้นฐาน
องค์ประกอบของแบบจำลองด้านสุขภาพ
การรับรู้ต่อโอกาสเสี่ยงของการเป็นโรค
การรับรู้ประโยชน์ที่จะได้รับและค่าใช้จ่าย
การรับรู้ความรุนแรงของโรค
แรงจูงใจด้านสุขภาพ
ปัจจัยร่วม
แบบจกลองการส่งเสริมสุขภาพ (Health Promotion Model : HPM)
แบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ มีพื้นฐานมาจากแนวคิดด้านการคิดรู้และความคาดหวังของผลลัพธ์ของการปฏิบัติพฤติกรรม
มโนทัศน์หลักของอบบจำลอง
ลักษณะเฉพาะและประสบการณ์ของบุคคล (IndividualCharacteristicsandExperiences)
ความคิดและอารมณ์ต่อพฤติกรรม (Behavior-Specific Cognition and Affect)
พฤติกรรมผลลัพธ์ (Behavioral Outcome)
ทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
Trans theoretical Model Stage of Change : TTM
พัฒนาขึ้นโดย James Prochaska and Carlo DiClemente ศึกษาพฤติกรรมของการเลิกบุหรี่
ทฤษฎีเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมมี 6 ขั้นตอน
1.ขั้นก่อนชั่งใจ (Pre-contemplation stage) ไม่มีความสนใจที่จะปรับเปลี่ยนไม่ตระหนักรู้
2.ขั้นชั่งใจ (Contemplation stage) ตระหนักรู้ว่ามีปัญหาแต่ยังไม่คิดที่จะปรับเปลี่ยน
3.ขั้นเตรียมพร้อมที่นะปฏิบัติ (Preparation stage / Determination) เตรียมตัวที่นะเริ่มปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
4.ขั้นปฏิบัติ (Action stage) เชื่อมั่นในศักยภาพของตนเองว่าสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้
5.ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance) สามารถคงไว้ซึ่งพฤติกรรมใหม่อย่างสม่ำเสมอ
6.ขั้นยุติพฤติกรรมเดิมอย่างถาวร (Termination) ไม่มีอะไรมาเย้ายวนให้กลับไปทำพฤติกรรมเดิมได้