Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีในการสร้างเสริมสุขภาพ A6480153 นางสาวญาณิศา สุพร - Coggle Diagram
ทฤษฎีในการสร้างเสริมสุขภาพ A6480153 นางสาวญาณิศา สุพร
(Health Belief Model : HBM)
เเนวคิด
➢การรับรู้ของบุคคลเป็นตัวบ่งชี้พฤติกรรมโดยบุคคลจะกระทําหรือเข้าใกล้กับสิ่งที่ตนพอใจ
➢กํารที่บุคคลใดจะมีพฤติกรรมหลีกเลี่ยง จากการเป็นโรค บุคคลนั้นมี โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรค โรคมีความรุนเเรงต่อชีวิตพอสมควร
ปัจจัยร่วม (Modifying Factors) :
➢เป็นปัจจัยที่ไม่มีผลโดยตรงต่อพฤติกรรมสุขภาพ
ปัจจัยด้านประชากร
เพศ, อายุ ,เชื้อชาติ,ศาสนา
ปัจจัยด้านสังคมจิตวิทยา
บุคลิกภาพ, กลุ่มเพื่อน,ค่านิยม วัฒนธรรม
ปัจจัยโครงสร้างพื้นฐาน
ระบบบริการสุขภาพ
องค์ประกอบของแบบจำลองความเชื่อด้านสุขภาพ
การรับรู้ต่อโอกาสเสี่ยงของการเป็นโรค
ความเชื่อคาดคะเน ตนมีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรคหรือปัญหาสุขภาพ
กํารรับรู้ของผู้ป่วย ความถูกต้องการวินิจฉัยโรคของเเพทย์ ถึงโอกาสเกิดโรคซ้ำเเละความรู้สึกของผู้ป่วย
การรับรู้ความรุนแรงของโรค
บุคคลเป็นผู้ประเมินเองในด้านความรุนเเรงของโรคที่มีต่อร่างกาย ก่อให้เกิดความพิการเสียชีวิต ความยากลำบาก
การรับรู้ประโยชน์ที่จะได้รับและค่าใช้จ่าย
การที่บุคคลแสวงหาวิธีการปฏิบัติให้หายจากโรคหรือป้องกันไม่ให้เกิดโรค
ค่าใช้จ่ายซึ่งเป็นข้อเสีย หรืออุปสรรคของกํารปฏิบัติในการป้องกัน
แรงจูงใจด้านสุขภาพ
ระดับความสนใจ รงรักษาสุขภาพและการ หลีกเลี่ยงจากการเจ็บป่วย
เกิดความสนใจทั่วไปของบุคคล เกิดจากการรกระตุ้นของความเชื่อต่อโอกาสเสี่ยงของโรค ต่อความรุนเเรงของโรค
ปัจจัยร่วม
ส่งเสริมหรือเป็นอุปสรรคต่อการที่บุคคลจะปฏิบัติเพื่อการป้องกันโรค ปฏิบัติตามคําแนะนํา
PRECEDE-PROCEED Model
ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์ทางสังคม
“คุณภาพชีวิต
ค้นหาข้อมูล ปัญหาด้านสังคมกระทบคุณภาพชีวิต ประชากร
ตัวกําหนดคุณภพาชีวิตของประชากรกลุ่มเป้าหมายต่างๆ
ขั้นตอนที่ 2 การวิเคราะห์ทางระบาดวิทยา
ปัญหาสุขภาพที่สำคัญ
เจ็บป่วยการเกิดโรค
ภาวะสุขภาพ
ปัจจัยการเกิดโรค เเละการกระจายของโรค
ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะห์ด้านพฤติกรรม
สาเหตุที่เกี่ยวข้อง
พฤติกรรมของบุคคล
สาเหตุที่ไม่เกี่ยวข้อง
พันธุกรรม
สภาวะเศรษฐกิจ
ขั้นตอนที่ 8 การประเมินผลกระทบ
การวัดประสิทธิผลของ แผนงาน โครงการ
ปัจจัยเอื้อ
ปัจจัยเสริมแรง
เปลี่ยนแปลงปัจจัยนํา
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ทางการศึกษา
พฤติกรรมสุขภาพ ประกอบ 3 กลุ่ม
ปัจจัยเอื้อให้เกิดพฤติกรรม
ปัจจัยเสริมแรงให้เกิดพฤติกรรมต่อเนื่อง
ปัจจัยนํา
ขั้นตอนท่ี 7 การประเมินกระบวนการ
เพื่อประเมินถึงปัจจัยด้าานการบริหรารจัดการ
ขั้นตอนที่ 5 การวิเคราะห์ทางการบริหาร
อธิบายถึงแหล่งทรัพยากรขององค์กรที่ต้องการสร้างแผนงาน
ดําเนินงานตาม แผนงาน
ส่งเสริมสุขภาพประสบความสําเร็จ
ขั้นตอนที่ 9 การประเมินผลลัพธ์
ผลรวบยอดของวัตถุประสงค์ท่ีมีการเปลี่ยนแปลง
ประโยชน์ที่ได้รับ
สามารถประเมินคุณภาพชีวิต
ขั้นตอนที่ 6 การปฏิบัติการ
ดําเนินงานตามมกลวิธี วิธีการและกิจกรรม
แต่ละเรื่องและประเด็น ที่กําหนดไว้
(Health Promotion Model : HPM
มโนทัศน์หลัก
1.ลักษณะเฉพาะและประสบการณ์ของบคุคล
พฤติกรรมที่เกี่ยวข้อง
พฤติกรรมที่เคยปฏิบัติในอดีต มีอิทธิพลโดยตรงต่อการปฏิบัติพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
ปัจจัยส่วนบุคคล
ปัจจัยด้านจิตวิทยา
ความมีคุณค่าในตนเอง
แรงจูงใจในตนเอง
รับรู้ภาวะ สุขภพาของตนเอง
ปัจจัยด้านสังคมวัฒนธรรม
สัญชาติ
วัฒนธรรม
การศึกษา
ทํางสังคม เศรษฐกิจ
ปัจจัยด้านชีววิทยา
อายุ: ดัชนีมวลกาย
สภาวะวัยรุ่น: สภาวะหมดระดู
ความจุปอด: ความแข็งแรงของร่างกาย
ความกระฉับกระเฉงของร่างกาย
ความคิดและอารมณ์ต่อพฤติกรรม
การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรม
แรงเสริมทําให้บุคคลเกิดแรงจูงใจ
ปฏิบัติพฤติกรรมตามประสบการณ์ในอดีต
การรับรู้อุปสรรคในการปฏิบัติพฤติกรรม
อุปสรรคภายใน
ความขี้เกียจ ความไม่รู้ ไม่มีเวลา ไม่พึงพอใจ
อุปสรรคภายนอก
ค่าใช้จ่ายสูง การรับรู้ว่ายาก สภาพอากาศ
การรับรู้ความสามารถของตนเอง
เชื่อมั่นของบุคคลเกี่ยวกับความสามารถของตนเองในการบริหารจัดการ
ความรู้สึกที่มีต่อพฤติกรรม
ความรู้สึกใน ทางบวกหรือลบที่เกิดขึ้น
อิทธิพลจากสถานการณ์
รับรู้และความคิดของบุคคลเกี่ยวกับสถานการณ์หรือบริบทที่สามารถเอื้อหรือขัดขวาง
อิทธิพลระหว่างบุคคล
ครอบครัว (พ่อ แม่ พี่ น้อง) เพื่อน
บุคลากรทางสุขภาพ
พฤติกรรมผลลัพธ์
ความมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติพฤติกรรม
กระบวนการคิด
ความตั้งใจที่จริงจังที่จะกระทํา พฤติกรรม
ความจำเป็นอื่นและทางเลือกอื่นที่เกิดขึ้น
ควรจะเกิดขึ้นบ่อย เพราะบุคคลพยายามมาหาเหตุผลมาอ้าง
พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
ปรับภาวะสุขภาพ
เพิ่มความสามารถของร่างกาย
ประสบผลสําเร็จ
(Social Support Theory)
ทฤษฎีแรงสนับสนุนทางสังคม
บุคคลได้รับการช่วยเหลือจากการปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่นในสังคม ด้านอารมณ์ ข้อมูล ข่าวสาร ด้านการเงิน แรงงาน สมาชิกในครอบครัว
แหล่งท่ีมาของการสนับสนุนทางสังคม
ระบบสนับสนุนจากกลุ่มเพื่อน
บุคคลที่มีประสบการณ์ มีความชำนาญในการค้นคว้าความต้องการ สามารถติดต่อชักจูงผู้ป่วยได้
3.ระบบสนับสนุนด้านศาสนาหรือแหล่ง อุปถัมภ์ต่างๆ
เเลกเปลี่ยนความเชื่อ ,ค่านิยม,คำสอน,คำเเนะนำวิถีการดำรงชีวิต
ระบบการสนับสนุนตามธรรมชาติ
ครอบครัว,ญาติพี่น้อง,ค่านิยมความเชื่อ ,เเบบเเผนพฤติกรรม การปฏิสัมพันธ์
ระบบการสนับสนุนจากกลุ่มวิชาชีพด้าน สุขภาพ
เเพทย์,พยาบาล,เจ้าหน้าที่สาธารณสุข
ระบบการสนับสนุนจากกลุ่มวิชาชีพอื่นๆ
กลุ่มบริการอาสาสมัคร
ประเภทของการสนับสนุนทางสังคม
การสนับสนุนด้านอารมณ์ (Emotional support)
การสนับสนุนด้านการประเมิน (Appraisal support)
การสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสาร (Information support)
การสนับสนุนด้านการเงิน แรงงานและส่ิงของ (Instrumental support)
Trans theoretical Model Stage of Change : TTM
มี 6 ขั้นตอน
ขั้นเตรียมพร้อมที่จะปฏิบัติ
เตรียมตัวเริ่มมี ความพร้อมที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 1เดือน
4.ขั้นปฏิบัติ
เชื่อมั่นในศักยภาพของตนเอง
ในช่วง 6 เดือนแรกของ กํารปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (ไม่เกิน 6 เดือน)
2.ขั้นชั่งใจ
ตระหนักรู้ว่ามีปัญหา
พฤติกรรมปรับเปลี่ยนนอีก 6 เดือนข้างหน้า
ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ
สามารถคงไว้ซึ่งพฤติกรรมใหม่อย่างสม่ำเสมอ
นานมากกว่า 6 เดือน
ขั้นก่อนชั่งใจ
ไม่มีความสนใจที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในอีก 6 เดือนข้างหน้า
ขั้นยุติพฤติกรรมเดิมอย่างถาวร
ไม่มีอะไรมาเย้ายวนให้กลับไปทํา พฤติกรรมเดิมได้อีก สามารถมั่นใจได้ 100%
ทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
หลักกระบวนการช่วยเปลี่ยนแปลง
1.การปลุกจิตสานึก
เป็นการบอกวิธีให้รู้ผลดีเเละผลเสียการเปลี่ยนพฤติกรรม
การระบายความรู้สึก
กระตุ้นหรือผลักดันจิตใจ อารมณ์ให้เกิดความอยากเปลี่ยนแปลง
การใคร่ครวญผลต่อสังคมรอบข้าง
ถ้าตนเองดื่มแอลกอฮอล์
ให้เกิดภาวะแทรกซ้อน
การใคร่ครวญผลต่อตนเอง
จินตนาการว่าถ้าเอาแต่ นอนโซฟาดูทีวี จะเป็นอย่างไร
กัลยาณมิตร
ปรึกษาทางโทรศัพท์ให้ การมีบัดดี้คอยสนับสนุน
การปลดปล่อยตนเอง
ถ้าจะเลิกบุหรี่ ก็ให้เลือกได้สามทาง จะเลิกแบบ หักดิบก็ได้
จงใจใช้แผนกระตุ้น
การตกรางวัลถ้า ทําสิ่งที่ดีกว่าการชื่นชมผลงาน
การปลดปล่อยสังคม
อาศัยความรู้สึกว่าเป็นการ ปลดปล่อยจากการถูกกดขี่เอาเปรียบทํางสังคม
บังคับให้ทาสิ่งที่ดีกว่าทางอ้อม
สร้างที่จอดรถให้ห่าง ที่ทํางาน เพื่อบังคับให้ต้องเดิน
ให้เรียนรู้สิ่งตรงกันข้าม
เรียนรู้การ สนองตอบแบบผ่อนคลายเพื่อแก้ปัญหาเครียด