Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีในการสร้างเสริมสุขภาพ - Coggle Diagram
ทฤษฎีในการสร้างเสริมสุขภาพ
แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ
(Health Belief Model : HBM)
แนวคิด
การรับรู้ของบุคคลเป็นตัวบ่งชี้พฤติกรรมโดยบุคคลจะกระทําหรือเข้าใกล้กับสิ่งที่ตนพอใจ
การที่บุคคลใดจะมีพฤติกรรมหลีกเลี่ยงจากการเป็นโรคบุคคลนั้นจะ
ต้องมีควรมเชื่อว่รเขามี โอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรค โรคมีควมารุนแรงต่อชีวิตของเขาพอสมควร
ปัจจัยร่วม (Modifying Factors)
ปัจจัยด้านประชากร : เพศ อายุ เชื้อชาติศาสนา
ปัจจัยด้านสังคมจิตวิทยา : เช่น บุคลิกภาพ กลุ่มเพื่อน มีความเกี่ยวข้องกับบรรทัดฐานทางสังคม ค่านิยม วัฒนธรรม
ปัจจัยโครงสร้างพื้นฐาน : ระบบบริการสุขภาพ
องค์ประกอบของแบบจาลองความเชื่อด้านสุขภาพ
การรับรู้ต่อโอกาสเสี่ยงของการเป็นโรค
การรับรู้ความรุนแรงของโรค
การรับรู้ประโยชน์ที่จะได้รับและค่าใช้จ่าย
4.แรงจูงใจด้านสุขภาพ
ปัจจัยร่วม
สรุป
การนําเอาแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพมาใช้ในการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมพฤติกรรม ป้องกันโรค เช่น การตรวจเต้านมด้วยตนเอง การใช้ถุงยางอนามัย ได้ผลดีทั้งในระดับบุคคลและชุมชน
ทฤษฎีแรงสนับสนุนทางสังคม
(Social Support Theory)
บุคคลได้รับการช่วยเหลือจรกการปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่นในสังคม ทั้งด้านอารมณ์ ด้านข้อมูล ข่าวสาร ด้านการเงิน แรงงาน หรือวัตถุส่ิงของต่างๆ อาจเป็นสมาชิกในครอบครัว ญาติพี่น้อง เพื่อน
บุคลากรการทางการแพทย์ ทําให้ผู้ได้รับการสนับสนุนทางสังคมมีควรมรู้สึกผูกพัน เชื่อว่ามีคนรักและสนใจ มีคนยกย่องและมองเห็นคุณค่า
แหล่งที่มาของการสนับสนุนทางสังคม
ระบบการสนับสนุนตามธรรมชาติ
ระบบสนับสนุนจากกลุ่มเพื่อน
3.ระบบสนับสนนุด้านศาสนาหรอืแหล่ง อุปถัมภ์ต่างๆ
ระบบการสนับสนุนจากกลุ่มวิชาชีพด้าน สุขภาพ
ระบบการสนับสนุนจากกลุ่มวิชาชีพอื่นๆ
ประเภทของการสนับสนุนทางสังคม
การสนับสนุนด้านอารมณ์ (Emotional support)
การสนับสนุนด้านการประเมิน (Appraisal support)
การสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสาร (Information support)
การสนับสนุนด้านการเงิน แรงงานและส่ิงของ (Instrumental support)
ทฤษฎีแรงสนับสนุนทางสังคม
แนวคิดนี้มีประโยชน์มากในการสร้างเครือข่ายเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ และการดูแลรักษาโรคเรื้อรัง
กลุ่มผู้ติดเชื้อเอดส์
กลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มส่งเสริมสุขภาพ เช่น กลุ่มแอร์โรบิค กลุ่มวิ่ง กลุ่มปั่นจักรยาน กลุ่มปฏิบัติธรรม
สรุป
แนวคิดนี้มีประโยชน์มากในการสร้างเครือข่ยาเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ และการดูแล รักษาโรคเรื้อรัง ดังจะสังเกตพบว่าปัจจุบันมีการรวมกลุ่มของผู้ที่มีปัญหนเหมือนกันขึ้นในชุมชน เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ให้กําลังใจ
PRECEDE-PROCEED Model
ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์ทางสังคม (Phase1 : Social Assessment)
ขั้นตอนที่ 2 การวิเคราะห์ทางระบาดวิทยา (Phase 2 : Epidemiological Assessment)
ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะห์ด้านพฤติกรรม (Phase 3 : Behavioral Assessment)
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ทางการศึกษา (Phase 4 : Educational Assessment)
ขั้นตอนที่ 5 การวิเคราะห์ทางการบริหาร (Phase 5 : Administrative and Policy Assessment)
ขั้นตอนที่ 6 การปฏิบัติการ (Phase 6 : Implementation)
ขั้นตอนที่ 7 การประเมินกระบวนการ (Phase 7 : Process Evaluation)
ขั้นตอนที่ 8 การประเมินผลกระทบ (Phase 8 : Impact Evaluation)
ขั้นตอนที่ 9 การประเมินผลลัพธ์ (Phase 9 : Outcome Evaluation)
สรุป
เป็นโมเดลที่นำมาประยุกต์ใช้ในการวางแผนและประเมินผล
โครงการส่งเสริมสุขภาพและสุขศึกษาเป็นกรอบในการวางแผนสุขศึกษาและการมีส่วนร่วมของ กลุ่มเป้าหมายที่จะนําไปสู่การมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ต่อไป
แบบจาลองการส่งเสริมสุขภาพ (Health Promotion Model : HPM)
แบบจําลองการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ มีพื้นฐานมาจากแนวคิดด้านการคิดรู้ ซึ่ง ประกอบด้วยความคาดหวังต่อผลลัพธ์ของการปฏิบัติพฤติกรรม (Outcome expectancies) จากทฤษฎีการให้คุณค่าการคาดหวัง และความคาดหวังในความสามารถของตนเอง (Self-efficacy expectancies)
มโนทัศต์หลักของแบบจำลอง
1.ลักษณะเฉพาะและประสบการณ์ของบคุคล(IndividualCharacteristicsandExperiences)
1.1 พฤติกรรมที่เกี่ยวข้อง (Prior related behavior)
1.2 ปัจจัยส่วนบุคคล (Personal Factors)
ปัจจัยด้านชีววิทยา
ปัจจัยด้านจิตวิทยา
ปัจจัยด้านสังคมวัฒนธรรม
2. ความคิดและอารมณ์ต่อพฤติกรรม (Behavior-Specific Cognition and Affect)
2.1 การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรม (Perceived Benefits of Action)
2.2 การรับรู้อุปสรรคในการปฏิบัติพฤติกรรม (Perceived Barriers to Action)
2.3 การรับรู้ความสามารถของตนเอง (PerceivedSelf-Ef ficacy)
2.4 ความรู้สึกที่มีต่อพฤติกรรม (Activity-Related Affect)
2.5 อิทธิพลระหว่างบุคคล (Interpersonal Influences)
2.6 อิทธิพลจากสถานการณ์ (Situational Influences)
3. พฤติกรรมผลลัพธ์ (Behavioral Outcome) ประกอบด้วย 3 อย่าง ได้แก่
3.1 ความมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติพฤติกรรม (Commitment to a Plan of Actions)
3.2 ความจาเป็นอื่นและทางเลือกอื่นที่เกิดขึ้น (Immediate Competing Demands and Preferences)
3.3 พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ (Health-Promoting Behavior)
สรุป
การส่งเสริมสุขภาพในแต่ละบุคคลนั้นมีเหตุผลแตกต่างกัน พยาบาลควรแนะนํา วิธีกํารที่เหมาะสมสําหรับแต่ละบุคคล ส่งเสริมให้เห็นความสําคัญของสุขภาพ และ ความสําคัญของตนเอง เสนอแนะแนวทํางแก้ไขปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติการส่งเสริม สุขภาพสนับสนุนให้กระทํากิจกรรมนั้นอย่างสม่ำเสมอเสมอและยาวนาน
การสร้างเสริมพลังอานาจ (Empowerment)
กระบวนการที่จะช่วยให้บุคคลตระหนัก และค้นหาความสามารถ และ หรือความเข้มแข็งที่มี อยู่ในตนเองเพื่อช่วยให้บุคคลมีความมั่นใจในการดูแลตนเองให้มีสุขภาพดี เข้าสู่การมีสุขภาวะ ที่สมบูรณ์ทั้งทางกาย จิตใจสังคม และปัญญา อย่างเป็นองค์รวม
กระบวนการเสริมสร้างพลังอพนาจ ทำให้บุคคลเปลี่ยนแปลง ดังนี้
สามารถตัดสินใจได้ด้วยตนเอง
เข้าถึงข้อมูลและแหล่งข้อมูลที่เอื้อในการตัดสินใจได้อย่างเหมาะสม
มีทางเลือกอย่างกว้างขวาง
มีความสามารถในการคิดเชิงรุกเพื่อประกอบในการตัดสินใจ
มีความคิดทางบวกและความสามารถที่จะเปลี่ยนแปลง
ประเภทของการสร้างเสริมพลังอำนาจ
การสร้างเสริมพลังอำนาจเชิงจิตใจ (Psychological Empowerment)
การสร้างเสริมพลังอำนาจเชิงโครงสร้าง (Structural Empowerment)
ลักษณะของการสร้างเสริมพลังอานาจ
กํารสร้างเสริมพลังอํานาจระดับบุคคลและระดับกลุ่ม การให้อํานาจคนแต่ละคน ให้สามารถ ควบคุมชีวิตของตน
กํารสร้างเสริมพลังอํานาจภายในและภายนอก เป็นการเพิ่มศักยภาพภายในกลุ่มหรือชุมชน โดยการระดมทรัพยากร
แหล่งที่มาของอำนาจ
อํานาจที่เกิดจรกตําแหน่งหรือหน้าที่
อํานาจที่เกิดจากการควบคุมทรัพยากรต่างๆ
อํานาจที่เกิดจากความสัมพันธ์ทาวสังคม
อํานาจที่เกิดกากความเชี่ยวชาญ
อํานาจที่เกิดจากการมีข้อมูล
อํานาจที่เกิดจากคุณสมบัติหรือบุคลิกลักษณะส่วนตัว
ขั้นตอนของการสร้างเสริมพลังอำนาจ
discovering reality การค้นพบความจริง
critical reflection การพิจารณาไตร่ตรอง สะท้อนคิดอย่างมีวิจารณญาณ
Taking charge ดําเนินการตัดสินใจเลือกวิธีการปฏิบัติที่เหมาะสม เรียนรู้เรียกร้อง จัดการต่อรอง ปกป้องสิทธิ
holding มั่นใจที่จะควบคุมสถานการณ์ได้
สรุป
การสร้างเสริมพลังอํานาจเป็นกลไกที่ถือได้ว่าเป็นหัวใจของแนวทางซึ่งหมายถึง“สร้าง” นํา “ซ่อม” การให้ความสําคัญกับการสร้างความแข็งแกร่งทางด้านสุขภาพองค์รวม เพื่อป้องกัน การเกิดโรคภัยไข้เจ็บหรือปัญหาด้านสุขภาพพองค์รวมที่ร้ายแรง ที่อาจจะเกิดตามมาจากการใช้ชีวิต ที่ไม่คํานึงถึงผลกระทบต่อสุขภาพของตนเอง
ทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
Trans theoretical Model Stage of Change : TTM
มีทั้งหมด 6 ขั้นตอน
ขั้นก่อนชั่งใจ (Pre-contemplation stage)
ขั้นชั่งใจ (Contemplation stage)
ขั้นเตรียมพร้อมที่จะปฏิบัติ (Preparation stage / Determina 4. ขั้นปฏิบัติ (Action stage)
ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
ขั้นยุติพฤติกรรมเดิมอย่างถาวร (Termination)
หลักกระบวนการช่วยเปลี่ยนแปลง Process of Change
1.การปลุกจิตสานึก(consciousness raising)
การระบายความรู้สึก (Dramatic relief)
การใคร่ครวญผลต่อสังคมรอบข้าง (social reevaluation)
การใคร่ครวญผลต่อตนเอง (self reevaluation)
การปลดปล่อยตนเอง (self liberation)
การปลดปล่อยสังคม (social liberation)
ให้เรียนรู้สิ่งตรงกันข้าม (counterconditioning)
บังคับให้ทาสิ่งที่ดีกว่าทางอ้อม (stimulus control)
จงใจใช้แผนกระตุ้น (contingency management)
กัลยาณมิตร (helping relationship)
สรุป
ประเด็นที่สําคัญในการใช้เทคนิควิธีการทั้ง 10 นี้ ก็คือ การเลือกใช้ให้เหมาะกับระดับของ กระบวนการเปลี่ยนแปลงว่าผู้รับบริการอยู่ในระดับใด จะเห็นว่าเทคนิคที่เกี่ยวข้องกับความรู้ หรือปรับทัศนคติมักเหมาะกับผู้ที่อยู่ในระยะแรกๆ หรือผู้ที่ยังไม่ตัดสินใจ ยังไม่วางแผน ในขณะ ที่เทคนิคที่ช่วยให้พฤติกรรมใหม่คงไว้ มักเหมาะกับผู้ที่อยู่ในระยะที่ต้องการให้พฤติกรรมมี ความคงเส้นคงวา หรือต้องการให้เกิดความต่อเนื่อง