Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินค่า สังเคราะห์ เรื่อง นมัสการมาตาปิตุคุณและนมัสก…
วิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินค่า สังเคราะห์
เรื่อง นมัสการมาตาปิตุคุณและนมัสการอาจริยคุณ
นมัสการมาตาปิตุคุณ
คุณค่าด้านสังคม
:red_flag: แสดงให้เห็นถึงการเคารพพ่อแม่
ข้อคิดที่ได้รับ
:red_flag: บิดามารดาเป็นผู้ที่คอยเลี้ยงดูเรามาตั้งแต่เล็กจนโตแม้จะลำบากก็อดทนเพื่อให้ลูกได้เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่ดีได้ สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้โดยเมื่อเราโตเป็นผู้ใหญ่แล้วเราต้องกลับมาดูแลบิดามารดาเพื่อขอบคุณบิดามารดาที่เลี้ยงดูเรามา
คุณค่าด้านเนื้อหา
:red_flag:นมัสการมาตาปิตุคูณมีการสาดับเนื้อหาอย่าง เหมาะสม ชัดเจน โดยในสานมัสการมาตาปิตุคุณ มีการกล่าวถึงบทบาทหน้าที่ของพ่อแม่ที่คอยเลี้ยงดู ลูกจนเติบใหญ่ ตลอดจนความยิ่งใหญ่ของบุญคุณ ของพ่อแม่ และปิดท้ายด้วยการการสอนให้เด็กๆ รู้จักกตัญญูรู้คุณต่อผู้ให้กำเนิด
นมัสการอาจริยคุณ
คุณค่าด้านสังคม
:red_flag: แสดงให้เห็นถึงการเคารพครูบาอาจารย์
ข้อคิดที่ได้รับ
:red_flag: ครูเป็นผู้ครูเป็นผู้ชี้แจง อบรมสั่งสอนทั้งวิชาความรู้และความดีทางจริยธรรม สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้โดยเชื่อฟังคำสอนของครูอาจารย์
คุณค่าด้านเนื้อหา
:red_flag: เป็นการสอนจริยธรรม ปลูกฝังให้ลูกศิษย์สำนึกใน บุญคุณของครูอาจารย์ รู้จักแสดงความกตัญญู กตเวทีต่อผู้มีพระคุณ
ประวัติของผู้แต่ง
:black_flag: พระยาศรีสุนทรโวหาร (บ่อย อาจารยางกร) เป็นกวีคมสาคัญในสมัยรัชกาลที่ ๔ ท่านได้รับสมญานามว่าเป็น ศาลฎีกาภาษา ไทย เพราะเป็นผู้แต่งดาราชุดแรกของไทย เรียกว่า แบบเรียบหลวง"
ควรปฏิบัติต่อครู-อาจารย์อย่างไร
:star: เราต้องเชื่อฟังครูบาอาจารย์ เพื่อขอบคุณที่ท่านคอยสั่งสอนเรา
ความเป็นมาของเรื่อง
:black_flag: บทประพันธ์รวมพิมพ์ในภาคเบ็ดเตล็ด หนังสือชุด ภาษาไทยเล่มที่ ๒ ของพระยาศรีสุนทรโวหาร
วัตถุประสงค์ของผู้แต่ง
:black_flag: เพื่อปลูกฝังคุณธรรมและตระหนักถึงความกตัญญูกตเวที
ลักษณะคำประพันธ์
:black_flag: อินทรวิเชียรฉันท์11 (อิน - ทฺระ - วิ- เชียน - ฉัน - สิบ - เอ็ด)
หมายถึง ฉันท์ที่มีลีลางดงามประดุจสายฟ้า ซึ่งเป็นอาวุธของ พระอินทร์ ใช้แต่งบรรยายเนื้อความเรียบ ๆ บทสวด บทพากย์ พรรณนาความเศร้าโศก และใช้ชมความงามต่าง ๆ
ควรปฏิบัติต่อพ่อ-แม่อย่างไร
:star: เราต้องกลับมาดูแลบิดามารดา เพื่อขอบคุณที่ท่านเลี้ยงดูเรามา
คุณค่าด้านวรรณศิลป์
:pencil2: การสรรคำ
ผู้ประพันธ์เลือกใช้คำที่ไพเราะทั้งเสียงและความหมายได้อย่างเหมาะสม โดยเป็นคำที่ง่าย สื่อความหมายชัดเจน ทำให้ผู้อ่านเห็นภาพแจ่มชัด ตัวอย่างเช่น
ตรากทนระคนทุกข์ เป็นคำที่ทำให้เห็นว่าพ่อแม่ต้องตรากตรำและอดทนเพื่อเลี้ยงดูลูกให้เติบโต
ถนอมเลี้ยง แสดงถึงการเลี้ยงดูลูกอย่างประคับประคองให้ดี เลี้ยงลูกด้วยความรักและความปรารถนาดี
ขจัดเขลา คำนี้แสดงให้เห็นหน้าที่ของครูว่าต้องการทำให้ศิษย์ปราศจากความไม่รู้ เท่าทันในสิ่งต่าง ๆ
:pencil2:การใช้ภาพพจน์
ผู้ประพันธ์ ใช้ภาพพจน์เพื่อแสดงการเปรียบเทียบ ระหว่าง บุญคุณของพ่อแม่ กับสิ่งต่างๆ เพื่อให้เห็นถึงความสำคัญและความยิ่งใหญ่ ของพระคุณ
อุปลักษณ์ แสดงการเปรียบเทียบ คือการเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเป็นสิ่งหนึ่ง ที่มีลักษณะ คล้ายกันหรือความหมายเหมือนกัน คำที่ใช้ในการเปรียบ ได้แก่ เป็น คือ ใช่ เท่า
:pencil2: การเล่นเสียงสัมผัส
สัมผัสพยัญชนะ คือ การใช้คำที่มีเสียงพยัญชนะเดียวกันนำมาสัมผัสกันเพื่อให้เกิดความไพเราะ
ข้าขอนบชนกคุณ ข้าขอนบชนกคุณ
อนึ่งข้าคำนับน้อม อนึ่งข้าคำนับน้อม
โอบเอื้อและเจือจุน โอบเอื้อและเจือจุน
สัมผัสสระ คือ การใช้คำที่มีสระเหมือนกัน นำมาสัมผัสกัน
กังขา ณ อารมณ โอบเอื้อและเจือจุน
ตรากทนระคนทุกข์ ตรากทนระคนทุกข์
กังขา ณ อารมณ์ โอบเอื้อและเจือจุน
สมาชิก(ม 4/10)
นางสาวอภัสรา ด้ามทอง เลขที่ 34
นางสาวอุรัจฉทา สัมภาระ เลขที่ 36
นางสาวอัสวรรค์ ด้วงหวัง เลขที่ 35
นางสาวสุทัตตา อุนทรีจันทร์ เลขที่ 15
นางสาวณิชาภัทร ปาลเมือง เลขที่ 20
นางสาวชุติมา ทองยอด เลขที่ 27