Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกที่คลอดก่อนกำหนดและเกินกำหนด - Coggle Diagram
การพยาบาลทารกที่คลอดก่อนกำหนดและเกินกำหนด
การพยาบาลทารกที่คลอดก่อนกำหนด
ส่งเสริมพัฒนาการ ทารกที่คลอดก่อนกำหนดจะมีการพัฒนาสมองที่ล่าช้า
ระบบหายใจ เช่น หายใจอกบุ๋ม หายใจมีเสียงครืดคราด หายใจไม่สะดวก ควรรีบนำส่งพบแพทย์
การอาบน้ำ ให้คุณแม่อาบน้ำให้ลูกวันละครั้งก็พอ ไม่ควรอาบบ่อย เพื่อเป็นการรักษาพลังงานที่มีอยู่น้อยในตัวเด็กไว้
สังเกตอาการที่บ่งบอกว่าไม่สบาย เช่น มีไข้สูงผิดปกติ, ติดเชื้อน้ำมูกเสีเขียวข้น, เด็กหายใจเร็วหอบ, เด็กหน้าซีดตัวซีด ปลายมือปลายเท้าเขียว, ท้องอืดท้องแข็ง, ชัก, ดูดนมได้น้อยลง, น้ำหนักตัวไม่เพิ่มขึ้น, ตัวตาเหลือง ควรรีบพาไปพบแพทย์
การให้ลูกกินนมแม่เป็นหลัก หรืออาจจะเสริมควบคู่ไปกับนมสูตรพิเศษสำหรับเด็กคลอดก่อนกำหนด เพื่อให้ทารกมีน้ำหนักตัวตามเกณฑ์
จัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม เพื่อให้อุณหภูมิร่างกายของลูก
ไม่ร้อนหรือเย็นจนเกินไป
การดูแลทำความสะอาด สิ่งแวดล้อมภายในบ้าน สิ่งของเครื่องใช้ ขวดนม เป็นต้น
ใส่ใจกับการชงนม ่ไม่ควรชงนมให้ข้นมากจนเกินไป โดยเฉลี่ยเด็กจะกินนมวันละ 150-180 ซี.ซี. ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม
การพยาบาลทารกที่คลอดเกินกำหนด
ตรวจปัสสาวะ ส่งหาฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนที่จะต้องเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ตามอายุครรภ์ และจะลดลงเมื่อคุณแม่เริ่มมีอาการเจ็บครรภ์ ถ้าพบว่าระดับฮอร์โมนชนิดนี้ลดลงมากกว่าปกติ ก็แสดงว่ารกทำงานไม่ดีและอาจเป็นอันตรายต่อทารกในครรภ์ได้
ติดตามการตรวจวินิจฉัยด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ จะให้ผลค่อนข้างแม่นยำ ซึ่งแพทย์จะใช้ติดตามทารกในครรภ์เกินกำหนด
ในกรณีที่คุณแม่มีน้ำหนักตัวลดลงหรือรู้สึกว่าลูกไม่ดิ้น หรือพบว่ามีสิ่งผิดปกติอื่น ๆ
สอนคุณแม่ในการนับจำนวนครั้งที่ลูกดิ้น ลูกเคลื่อนไหวอยู่เสมอ ถ้าคุณแม่รู้สึกลูกดิ้นน้อยลง ให้ลองนับจำนวนครั้งที่
ลูกดิ้นทุกชั่วโมงแล้วทำการจดบันทึกเอาไว้ ถ้ารู้สึกว่าลูกไม่ดิ้นเลยควรรีบไปพบแพทย์ทันที
ดูแลการรับการกระตุ้นให้มดลูกอุดตัน ด้วยการใช้ฮอร์โมนออกซีโตซิน (Oxytocin) เพื่อกระตุ้นให้มดลูกหดรัดตัวเร็ว
ขึ้นในกรณีที่แพทย์ต้องการชักนำให้เกิดการเจ็บครรภ์คลอด แต่บางครั้งก็มีการใช้ฮอร์โมนชนิดนี้เพื่อประเมินสุขภาพของทารกใน
ครรภ์ด้วย โดยการใช้ผสมในน้ำเกลือแล้วให้คุณแม่ได้รับทางเส้นเลือดดำ ซึ่งจะไปกระตุ้นให้มดลูกแข็งตัว พยาบาลจะต้องติดตาม
การเต้นของหัวใจทารกเพื่อดูว่ามีการเต้นผิดปกติหรือไม่ ถ้าพบว่าผิดปกติก็ต้องรายงานแพทย์จะทำการชักนำให้เกิดการคลอดทันที
การตรวจติดตามครรภ์เกินกำหนด ทารกที่อยู่ในครรภ์เกินกำหนดจำเป็นต้องได้รับการติดตามดูแลอย่างใกล้ชิดสม่ำเสมอจากแพทย์
พัฒนาการของทารกที่มีอายุครรภ์เกินกำหนด
จากการศึกษาพบว่าทารกที่มีภาวะเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (Growth-restricted neonate) โดยไม่คำนึงถึงอายุครรภ์ที่
คลอด จะมีปัญหาเรื่องการเจ็บป่วยง่าย ปัญหาการนอนหลับ และปัญหาการเข้าสังคมตั้งแต่อายุ 1 ปี และทารกที่มีภาวะ fetal distress และ Birth asphyxia จะมีระบบประสาทที่ผิดปกติได้มากในช่วงแรกเกิด
สาเหตุที่ทำให้คลอดเกินกำหนด
ทารกในครรภ์มีความพิการ มีภาวะที่ไม่มีสมองและกะโหลกศีรษะ (Anencephaly) ทารกที่มีภาวะต่อมหมวกไตฝ่อ
ทารกที่ไม่มีต่อมใต้สมอง
การขาดฮอร์โมน Placental sulfates deficiency
การตั้งครรภ์ในช่องท้อง
ดัชนีมวลกาย (BMI) ก่อนการตั้งครรภ์ ≥ 25
ตั้งครรภ์เป็นครั้งแรก
ปัจจัยจากทางพันธุกรรม
ประวัติการตั้งครรภ์เกินกำหนดมาก่อน
ไม่ทราบสาเหตุ
ประวัติประจำเดือนไม่แม่นยำ จึงทำให้คำนวณอายุครรภ์เกินไป
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ปัญหาการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ผิดปกติ ผิวหนังแห้งแตกเหี่ยวย่นและหลุดลอก เนื่องจากสูญเสียไขมันใต้ผิวหนัง มีขี้เทาเคลือบติดตามตัว รูปร่างผอม มี
ลักษณะขาดสารอาหาร แต่ตื่นตัว (alert) หน้าตาดูแก่กว่าเด็กทั่วไป และเล็บยาว
ทารกมีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตในครรภ์เพิ่มมากขึ้น
ปัญหาขี้เทาปนในน้ำคร่ำและปัญหาการสำลักขี้เทา ซึ่งหากทารกมีการสำลักน้ำคร่ำเข้าไปในปอด จะ
ทำให้เกิดปอดอักเสบรุนแรงได้ ในรายที่รุนแรงมากอาจทำให้ทารกเสัยชีวิตได้
ปัญหาจากน้ำคร่ำน้อย จะส่งผลให้ขี้เทาที่ปนในน้ำคร่ำมีความเข้มข้นมากขึ้น ทำให้เกิดปัญหาสำลักขี้เทาหลังคลอดตามมาได้
ปัญหารกเสื่อมสภาพ เนื่องอายุครรภ์เกินกำหนด อาจจะทำให้ทารกในครรภ์ขาดออกซิเจนเรื้อรัง จึงทำให้เลือดส่งไปยังทารกลดลง
ทารกเจริญเติบโตในครรภ์ อาจทำให้คลอดได้ยากมากขึ้น ต้องใช้สูติศาสตร์ทางการแพทย์เข้ามาช่วย เช่น การผ่าตัดคลอด การใช้เครื่องสูญญากาศ การใช้คีม เป็นต้น
นิยามของการตั้งครรภ์เกินกำหนด
การตั้งครรภ์เกินกำหนด (Postterm pregnancy, Prolonged pregnancy) หมายถึง การตั้งครรภ์ที่มีอายุครรภ์ 42สัปดาห์ เต็ม (294 วัน) หรือมากกว่า โดยเริ่มนับจากวันแรกของประจำเดือนครั้งสุดท้าย (Last menstrual period : LMP)
นิยามของการคลอดก่อนกำหนด
ทารกที่คลอดอายุครรภ์ 20 -37 สัปดาห์
สาเหตุที่ทำให้คลอดก่อนกำหนด
การใช้สารเสพติด
การรับประทานยาบางชนิดที่มีผลต่อการหดรัดตัวของมดลูก
การดื่มเหล้าสูบุหรี่
สภาพการทำงาน
ความเครียด
เกิดอุบัติเหตุในขณะตั้งครรภ์
สภาพเศรษฐกิจและสังคมของครอบครัว
การมีเพศสัมพันธ์ขณะตั้งครรภ์
มีประวัติเคยคลอดก่อนกำหนดมาก่อน
การไม่ไปฝากครรภ์
น้ำหนักตัว ผอมหรือน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ ตัวเล็ก
คุณแม่มีโรคอื่นๆ เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคไต โรคเลือด ครรภ์เป็นพิษ เป็นต้น
อายุต่ำกว่า 18 ปี
เลือดออกในขณะตั้งครรภ์
การอักเสบติดเชื้อ
มดลูกผิดปกติ
ภาวะแทรกซ้อน
โลหิตจาง
การหยุดหายใจในทารกแรกเกิด
การได้ยิน
ปัญหาเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ
การมองเห็น
ภาวะโรคปอดเรื้อรัง
พัฒนาการช้า
ภาวะลำไส้เน่าตายอย่างเฉียบพลัน
น้ำหนักตัวน้อย
เสี่ยงต่อการเสียชีวิต
การติดเชื้อ
ภาวะเลือดออกในสมองเฉียบพลัน
ภาวะปอดไม่สมบูรณ์