Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคไส้เลื่อน (Hernia), ความบกพร่องของการเกาะยึด มีความผิดปกติในกล้ามเนื้อห…
โรคไส้เลื่อน (Hernia)
ความหมาย
โรคไส้เลื่อนคือโรคที่อวัยวะภายใน (บางส่วน) เกิดการเคลื่อนตัวออกจากตำแหน่งที่อยู่เดิม ผ่านรูหรือดันตัวผ่านบริเวณกล้ามเนื้อ หรือพังผืดที่เกิดความหย่อนยานสูญเสียความแข็งแรงไปอยู่ยังอีกตำแหน่งหนึ่ง และมักปรากฏเป็นก้อนตุงออกมา โดยส่วนที่เคลื่อนตัวออกไปจะยังคงถูกห่อหุ้มด้วยเยื่อหุ้มเดิม ทั้งนี้โรคไส้เลื่อนแบ่งออกได้เป็นหลายชนิดตามตำแหน่งที่อวัยวะเคลื่อนไปอยู่ และตามสาเหตุการเกิด
-
-
-
การรักษา
(การผ่าตัด)
- เฮอรนิโอราฟพี ( Herniorrhaphy ) เป็นการผ่าตัดที่ดีที่สุดและได้ผลแน่นอน โดยตัดเอาถุงไส้เลื่อนออกแล้วเย็บซ่อมแซมผนังด้านหลัง ซึ่งมีอยู่หลายเทคนิค อาจจะเย็บปิดด้วยกล้ามเนื้อหรือใช้สารสังเคราะห์ เช่น Malex mesh
- เฮอรนิโอพลาสตี ( Hernioplasty ) เป็นการผ่าตัดซ่อมแซมไส้เลื่อน
- เฮอรนิโอโตมี ( Herniotomy ) เป็นการตัดเฉพาะถุงไส้เลื่อนไม่ต้องเย็บซ่อมแซมผนังด้านหลังมักทำใน เด็กเล็ก
ชนิดของไส้เลื่อน
-
- ไส้เลื่อนบริเวณที่ต่ำกว่าขาหนีบ
- ไส้เลื่อนภายในช่องเชิงกราน
- ไส้เลื่อนที่เกิดหลังผ่าตัด
-
-
โรคแทรกซ้อนที่สำคัญ
- เป็นภาวะที่ลำไส้มีการบิดตัว
- เป็นภาวะที่เกิดขึ้นเมื่ออุจจาระไม่สามารถเคลื่อนผ่านลำไส้นี้ไปได้
- เป็นภาวะที่ลำไส้เคลื่อนออกมาแล้วไม่สามารถดันกลับเข้าไปในช่องท้องได้
การตรวจวินิจฉัย
จากการตรวจร่างกายเป็นหลัก โดยจะตรวจทั้งในท่านอน ท่ายืน และให้ผู้ป่วยออกแรงเบ่ง สิ่งที่สำคัญคือ การวินิจฉัยว่าไส้เลื่อนที่ตรวจพบเกิดภาวะติดคาขึ้นหรือไม่ รวมทั้งไส้เลื่อนที่ติดคาเกิดภาวะขาดเลือดไปเลี้ยงหรือยัง อาจใช้การตรวจอัลตราซาวด์ช่วยในการตรวจวินิจฉัย
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
-
ปวดแผลผ่าตัด
-
-
Intervention;
1ประเมินอาการปวดเเผลผ่าตัด
2รายงานเเพทย์เพื่อพิจารณาให้ยาเเก้ปวด
3ดูเเลให้ยาเเก้ปวดตามเเผนการรักษา
4สังเกตอาการข้างเคียงหลังได้รับยาเเก้ปวด
5ประเมิน Pain score /Sedation score เเละสัญญาณหลังได้รับยาเเก้ปวด (HAD)
6สอนการไอเเละหายใจอย่างมีประสิทธิภาพ
7จัดสิ่งเเวดล้อมให้เงียบสงบเพื่อเอื้อเฟื้อต่อการพักผ่อนของผู้ป่วย
8ดูเเลประคบเย็นบริเวณที่ปวด
-
Risk for Operation :
Goal;
ผู้ป่วยไม่มีภาวะเเทรกซ้อนหลังทำผ่าตัด
Pain score <3คะเเนน
เเผลผ่าตัดไม่บวมเเดง
ไม่มีเลือดซึม
สามารถปัสสาวะเองได้ตามปกติ
-
Intervention;
1 ประเมินสภาพผู้ป่วยเเละภาวะเเทรกซ้อนหลังทำผ่าตัด
2 ดูเเลcheck V/S ทุก15นาที4ครั้ง ทุกครึ่งชั่วโมง2ครั้งเเละทุก1ชั่วโมงจนคงที่
3 Observe เเผล bleed hematoma Pain หลังกลับมาจากห้องผ่าตัด
4กระตุ้นให้ลุกนั้่ง ลงจากเตียงภายใน 24 ชั่วโมง
5จัดท่านอนศีรษะสูง 30 องศา
6 ดูเเลให้ยาเเละสารน้ำตามเเผนการรักษา
7ดูเเลให้รับประทานอาหารธรรมดาตามเเผนการรักษา
8 Observe ปัสสาวะถ้าปัสสาวะไม่ออกภายในูุ6ชั่วโมงให้รายงานเเพทย์รับทราบ
9จัดท่านอนในท่าที่สุขสบายจัดสิ่งเเวดล้อมให้เงียบงสบลดสิ่งกระตุ้น
10เเนะนำการปฎิบัติตัวหลังทำผ่าตัด หากมีอาการผิดปกติให้เเจ้งเจ้าหน้าที่รับทราบ
-
- ความบกพร่องของการเกาะยึด มีความผิดปกติในกล้ามเนื้อหน้าท้องอาจจะมีการ
พัฒนาการมาจากเนื้อเยื่อที่อ่อนแอ หรือ
อาจจะเกิดจากภยันตราย
-
- มีการเพิ่มความดันในช่องท้องการที่พบได้บ่อยที่สุด เช่น จากการตั้งครรภ์หรือภาวะอ้วน การไอ การยกของหนัก มีผลให้เกิดความดันในช่องท้องสูง หรือเกิดขึ้นภายหลังจากมีการเปลี่ยนแปลงตามวัย เช่น สูงอายุ กล้ามเนื้อถูกแทรกหรือแทนที่ด้วยเนื้อเยื่อไขมัน และเนื้อเยื่อเกี่ยวกัน
-
-