Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การทำแผล bepanthen-3 - Coggle Diagram
การทำแผล
3 แบ่งตามสาเหตุของการเกิดบาดแผล
แผลเกิดโดยเตนา (lntention wound) เป็นแผลที่กระทำขึ้นเพื่อการรักษา เช่น แผล ผ่าตัด แผลที่เกิดจากการเจาะ เป็นเต้น
แผลเกิดโดยไม่เจตนา (Unintentional wound) เป็นแผลที่เกิดขึ้นโดยอุบัติเหตุ
4 แบ่งตามระยะเวลาที่เกิดผล
แผลสด หมายถึง แผลที่เกิดขึ้นใหม่ๆ
แผลเก่า หมายถึง แผลที่อยู่ในระยะการหายของแผล
แผลเรื้อรัง หมายถึง แผลที่มีการติดเชื้อ มีการทำลายเนื้อเยื่อ และมีการตายของเนื้อเยื่อ (Sloughing or shedding) ซึ่งเรียกว่า เนื้อตาย necrotic tissue และมีสิ่งขับหลั่งจากการ อักเสบของแผลเป็นหนอง เช่น แผลกดทับ
แผลประเภทอื่นๆ การแบ่งชนิดของบาดแผลประเภทอื่นๆ ได้แก่ แผลที่มีรูทะลุ (Fistula) เป็นแผลที่มีช่องทางเปิดผิดปกติ อาจเกิดขึ้นเองหรือเกิดจากการเจาะให้เกิดรูและแผลไหม้พอง เกิดจากความร้อน ได้แก่ ไฟไหม้ น้ำร้อนลวก และไฟฟ้าช็อต
1 more item...
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีบาดแผลและการอักเสบ !ปกติร่างกายมีผิวหนังห่อหุ้ม หากมีภาระที่เยื้อบุผิวหนังหรือเนื้อเยื้อที่อยู่ใต้ผิวหนังได้รับอันตราย เกิดการฉีกขาด ไม่มีการเชื่อมกัน
แบ่งตามความสะอาดของแผล
แผลสะอาด (Clean wound) หมายถึง แผลที่ไม่มีการติดเชื้อหรือเป็นแผลที่เคยปนเปื้อนเชื้อ แต่ได้รับการดูแลจนแผลสะอาดไม่มีการติดเชื้อ เนื้อเยื่อของแผลเป็นสีชมพูอมแดงและมักเป็นแผลผลิต (Closed wound) หรือเป็นแผลที่เกิดจากการวางแผนล่วงน้ำเพื่อการตรวจรักษา มี การควบคุมภาวะปราศจากเชื้อ เช่น แผลผ่าตัด แผลเจาะหลัง ยกเว้นแผลผ่าตัดในระบบทางเดินหายใจ ระบบทางเดินอหาร ระบบสืบพันธุ์ และระบบทางเดินปัสสาวะ
แผลกึ่งสะอาดกึ่งปนเปื้อน (Clean - contaminated wound) ลักาณะของแผลคล้ายแผลสะอาดแต่มักเป็นแผลผ่าตัดในระบบทางเดินหายใจ ระบบทางเดินอาหาร ระบบสืบพันธุ์ ระบบทางเดินปัสสาวะ และยังไม่ติดเชื้อ
แผลติดเชื้อหรือแผลสกปรก (lnfected wound / dirty wound) เป็นแผลที่มีการปนเปื้อนเชื้อจนเกิดการติดเชื้อ เกิดการอักเสบ มีหนอง ส่วนใหญ่เป็นแผลที่เกิดอุบัติเหตุ
แผลปิด (Closed wound) หมายถึง บาดแผลที่ผิวหนังหรือเยื้อบุไม่ฉีกขาดออกจากันแต่เนื้อเยื่อที่อยู่ใต้ผิวหนังได้รับบาดเจ็บ มักเกิดจากขอไม่มี
แผลฟกซ้ำ (Contusion / bruise) เป็นการฉีกขาดของกล้ามเนื้อใต้ผิวหนัง พบรอยฟกซ้ำ เสินเลือดแตก เลือดออกแทรกเข้าไปในเนื้อเยื้อ
แผลกระทบกระเทือน(Concussion) มักใช้เกี่ยวกับการกระทบกระเทือนของระบบประสาท
1 more item...
การดูแลผู้ป่วยที่มีบาดแผลและการอักเสบ
การพักผ่อนร่างกายและอวัยวะที่มีบาดแผลให้มากที่สุด เพราะการพักผ่อนจะลดกระบวนการเผาผลาญภายในเซลล์ที่ไม่จำเป็น
การทำความสะอาดบาดแผล เพื่อป้องกันการติดเชื้อและส่งเสริมกระบวนการหายของแผล
3.การส่งเสริมการไหลเวียนโลหิตมายังบาดแผล
4.การยกบริเวณที่มีบาดแผลไว้สูง เพื่อให่เลือดดำและน้ำดหลือไหลกลับสะดวก
5.การส่งเสริมให้ผู้ป่วยได้รับสารอาหารที่เพียงพอ และมีประโยชน์ต่อกระบวนการหายของแผล
การลดความเจ็บปวดจากแผลโดยการให้ยาบรรเทาปวด
7.การส่งเสริมสุขวิทยาส่วนบุคคลและดูแลให้ผู้ป่วยรู้สึกสุขสขสบาย
การทำแผล การทำแผลเป็นปัจจัยหนึ่งที่ส่งเสริมการหายของแผลเป็นการป้องกันแผลจากสิ่งที่ก่อให้เกิดการะคายเคือว
หลักการทำแผล
ต้องล้างแผลให้สะอาดโดยใช่เครื่องมือ
กรณีที่มีแผลหลายแห่ง ให้ทำแผลที่สะอาดกว่าก่อนจึงทำแผลส่วนที่สะอาดน้อยกว่าและทำแผลให้กับผู้ป่วย
3.กำจัดเนื้อตายหรือสิ่งแปลกปลอมออกจากแผลให้มากที่สุดเท่าที่ทำได้
4.แผลที่มีของเหลวตกค้าง เช่น เลือด หนอง เป็นต้น
5.ในขณะทำแผลให้ระมัดระวังอย่าให้แผลกระทบกระเทือนจนดกินไป
6.ก่อนปิดแผลถ้ามีเลือดออกต้องห้ามเลือดก่อน มิฉะนั้นเลือดจะแห้งกรัง จะทำให้การเปิดอผลครั้งต่อไปยาก
วัตถุประสงค์ของการทำแผล
1.ส่งเสริมให้สภาวะที่ดีเหมาะแก่การงอกของเนื่อเยื่อ
2.ดูดซึมสิ่งขับหลั่ง เช่นเลือด น้ำเหลือง หนอง เป็นต้น
3.จำกัดการเคลื่อนไหวของแผลให้อยู่นิ่ง
4.ให้ความชุ่มชื่นกับพื้นผิวของแผลอยู่เสมอ
5.ป้องกันไม่ให้ผ้าปิดแผลติด และดึงรั้งเนื้อเยื่อที่งอกใหม่
6.ป้องกันแผลหรือเนื้อเยื้อที่เกิดใหม่จากสิ่งกระทบกระเทือน
7.ป้องกันแผลปนเปื้อน้ชื่อโรคจากอุจจาระ ปัสสวะ และสิ่งสกปรกอื่นๆ
8.เป็นการห้ามเลือด
9.ส่งเสริมความสุขสบายของผู้ป่วย
ชนิดของการทำแผล ลัการะแผลที่แตกต่างกัน จะมีวิธีการทำแผลที่แตกต่างกัน ดังนั้นการจะเลือกทำแผลแบบใดจะต้องพิจราณาลักษณะแผล
1 more item...
การตัดไหม หมายถึง การตัดวัสดุที่เย็บแผลไว้เพื่อดึงรั้งเนื้อเยื่อให้มาติดกัน
ขั้นตอนการปฏิบัติการพยาบาล เรื่องการตัดไหม stitches off
การใช้ผ้าพันแผล
1 ตรวจดูผิวหนังว่ามีรอยถลอก บวม แดง ผื่นคัน มีการเสียดสี
2.บริเวณที่จะพันผ้าต้องแห้ง สะอาด ถ้ามีแผลต้องทำความสะอาดแผลก่อน และคลุมผ้าปิดแผลให้พ้นขอบแผล
3.ไม่พันแน่นหรือหลวมเกินไป ถ้าพันแน่นเกินไปจะขัดขวางการไหลเวียงของหลอดเลือดส่วนปลาย และกดทับเส้นประสาท
4.การพันบริเวณแขน ขา ต้องพันจากส่วนปลายขึ้นไปข้างบนเสมอ และควรพันจากส่วนเล็กไปหาส่วนใหญ่
5.ครวจสอบแผนการรักษาในกรณีที่มีการรักษาพิเศษที่เกี่ยวข้อง เช่น ยกอวัยวะส่วนที่ พันผ้าให้สูงเพื่อลดอาการบวม
6.ประเมินความสามารถในการเคลื่อนไหวของอวัยวะที่จะพันผ้า การกำจัดการเคลื่อนไหวจะช่วยส่งเสริมกระบวนการหายของแผล และป้องกันอันตรายต่อระบบกล้ามเนื้อกระดูก