Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ดิน (soil), image, image, image, image, image, image, image, image, image,…
ดิน (soil)
การปรับปรุงคุณภาพดิน
1.ดินเปรี้ยว
สาเหตุ คือ มี pH<5.5 ความเป็นกรดสูง เกิดจากมีกำมะถัน (S) อยู่ในชั้นหน้าตัดดิน จากกระบวนการเกิดดิน หรือใช้ปุ๋ยเคมีเป็นเวลานาน
วิธีแก้: ใช้น้ำชะล้าง โดยขังน้ำและระบายออก, ใส่ปูนมาร์ล (ดินสอพอง) ปูนขาว หินปูนบด หินปูนฝุ่น
2.ดินเค็ม
สาเหตุ ดินมีความเข้มข้นของเกลือที่อยู่ในดินสูง พืชไม่สามารถดูดน้ำจากดินเลี้ยงลำต้นได้ จึงทำให้เหี่ยวเฉาและใบไหม้
วิธีแก้: ใส่ S /ยิปซัม(แคลเซียมซัลเฟต) / น้ำจืดชะล้างระบายน้ำเกลือทิ้ง
3.ดินจืด
สาเหตุ ดินไม่มีธาตุอาหารที่เพียงพอต่อความต้องการของพืช
วิธีแก้: ปลูกพืชตระกูลถั่ว / ใส่ปุ๋ยอินทรีย์ในอัตราส่วนที่เหมาะสม
4.ดินฝาด
สาเหตุ ดินที่มีค่า pH>7 เป็นเบสสูง ไม่เหมาะต่อการเจริญเติบโตของพืช
วิธีแก้: เติม S ลงไปเพื่อให้ดินปรับสภาพ
5. ดินขาดความอุดมสมบูรณ์
สาเหตุ เนื้อหยาบ ดูดซับน้ำและแร่ธาตุได้น้อย หรือมีเนื้อละเอียดแน่นรากพืชชอนไชไม่ได้
วิธีแก้: เติมอินทรีย์วัตถุในดินอย่างสม่ำเสมอ
-
องค์ประกอบของดิน
อินทรีย์วัตถุ (organic matter) 5% = ส่วนที่เกิดจากการเน่าเปื่อยผุพังหรือสลายตัวของซากพืชซากสัตว์ที่ทับถมกัน
-
-
-
ปัจจัยการเกิดดิน
วัตถุต้นกำเนิดดิน
วัตถุที่เกิดจากการผุพังสลายตัวของหินและแร่
กระบวนการผุพังแตกต่างกัน
ดินแต่ละบริเวณมีปริมาณแร่ธาตุ สี เนื้อดิน โครงสร้าง และสมบัติทางเคมีแตกต่างกัน
-
ภูมิประเทศ
พื้นที่ความลาดชันสูงจะมีการชะล้างพังทลายของหน้าดินมาก = ชั้นดินมีความหนาน้อย
พื้นที่ราบลุ่มจะมีการชะล้างพังทลายของหน้าดินน้อยกว่า = ชั้นดินมีความหนามาก
ภูมิอากาศ มีความสำคัญที่สุด
อากาศร้อนชื้น T สูง ปริมาณฝนมาก ทำให้การผุพังอยู่กับที่ > อากาศหนาว
อุณหภูมิของอากาศ ส่งผลต่อปริมาณสิ่งมีชีวิตในดิน
และการย่อยสลายซากพืชซากสัตว์ในดิน
สมบัติของดิน
1. เนื้อดิน (soil texture)
- ดินแต่ละชนิดมีองค์ประกอบแตกต่างกัน
- เกิดจากการรวมตัวของ ตะกอนทราย (sand) ทรายแป้ง (silt) ดินเหนียว (clay)
- ดินที่ประกอบด้วย 3 ชนิดปริมาณเท่ากัน = ดินร่วน
แบ่งออกเป็น 3 ประเภท
ดินทราย (Sand)
เป็นดินที่มีทรายปนอยู่มากถึง 70% มีเนื้อหยาบ ไม่จับกันเป็นก้อน ไม่อุ่มน้ำ น้ำซึมผ่านได้ง่าย มีธาตุอาหารต่ำ
ดินร่วน (Loam)
เป็นดินที่มีลักษณะร่วนซุย มีสีดำเป็นส่วนใหญ่ น้ำซึมผ่านได้พอสมควร อากาศถ่ายเทได้สะดวก มีฮิวมัสมาก สารอาหารมาก เหมาะแก่การเพาะปลูก
ดินเหนียว (Cray)
เป็นดินที่มีเนื้อละเอียดมาก อุ้มน้ำได้ดีมาก มีธาตุอาหารในดินเหมาะแก่การปลูกพืชที่ชอบน้ำขังอยู่นานๆ เช่น นาข้าว
แบ่งเป็น 3 กลุ่ม
-
- กลุ่มอนุภาคขนาดทรายแป้ง (เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.05 - 0.002 mm)
- กลุ่มอนุภาคขนาดดินเหนียว (เส้นผ่าศูนย์กลาง < 0.002 mm)
2. สีดิน (soil color)
ดินแต่ละบริเวณมีสีแตกต่างกัน
สีของดินสามารถประเมินสมบัติบางอย่างของดินที่เกี่ยวข้องได้
- การระบายน้ำของดิน
- อินทรีย์วัตถุในดิน
- ระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน
-
-
-
-
3. ความชื้นของดิน
เป็นสัดส่วนระหว่างมวลของน้ำในดินกับมวลของดิน
แสดงถึงความอุ้มน้ำของดิน การให้ธาตุอาหารและน้ำแก่พืช ซึ่งมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช
-
-
-
-
4. ความเป็นกรด-เบสของดิน (pH)
การวัดค่า pH ของดิน มีความสำคัญเนื่องจากมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช และความรุนแรงของโรคบางชนิด
-
-
-
-
-
หน้าตัดและชั้นดิน
หน้าตัดดิน (soil profile) คือ ผิวด้านข้างของหลุมดิน ที่ตัดลงไปจากผิวหน้าดินตามแนวดิ่ง ซึ่งปรากฏให้เห็นชั้นต่างๆ ภายในดิน
-
ดินเกิดจากการผุงพังทางเคมีและทางกายภาพของหิน
จนมีขนาดเล็กลง ผสมคลุกเคล้ากับอินทรีย์วัตถุที่เกิดจากซากพืชซากสัตว์ ซึ่งใช้เวลาในการเกิดดินอย่างต่อเนื่องเป็นเวลานาน
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-