Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
[Hypertensive Disorders in Pregnancy (ภาวะโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์),…
[Hypertensive Disorders in Pregnancy
(ภาวะโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์)
เกณฑ์การวินิจฉัยภาวะ Hypertensive Disorders in Pregnancy
Gestational hypertension
ไม่พบความผิดปกติของระบบอวัยวะ
new-onset hytension Systolic มากกว่าหรือเท่ากับ 140 mmHg หรือ diastolic มากกว่าหรือเท่ากับ 90 mmHg วัด 2 ครั้ง ห่างกันอย่างน้อย 4 ชั่วโมง
พบภายหลังตั้งครรภ์ 20 สัปดาห์
ต้องไม่มีภาวะ severe features
2.Pre eclampsia และ Eclampsia
อาการอื่นๆร่วมด้วย
มีอาการปวดศีรษะเกิดขึ้่นใหม่ ไม่ตอบสนองต่อยา
ภาวะน้ำท่วมปอด (Pulmonary edema)
new-onset hytension
Systolic มากกว่าหรือเท่ากับ 140 mmHg หรือ diastolic มากกว่าหรือเท่ากับ 90 mmHg วัด 2 ครั้ง ห่างกันอย่างน้อย 4 ชั่วโมง
Systolic มากกว่าหรือเท่ากับ 160 mmHg หรือ diastolic มากกว่าหรือเท่ากับ110 mmHg วัด 2 ครั้ง ห่างกันอย่างน้อย 15 นาที
Proteinuria
Urine protein มากกว่าหรือเท่ากับ 300 mg หรือ Urine protein/creatinine ratio/index (UPCI) ≥ 0.3 mg/dL หรือ Urine Dipstick ≥ +1 /Urine analysis reading ≥ 2+
อวัยวะสำคัญล้มเหลว (end-organ dysfunction)
มี preeclampsia หรือ severe features
เกล็ดเลือดต่ำ (thrombocytopenia) น้อยกว่า 100,000 /ลูกบาศก์ มม.
ไตวาย (renal insufficiency)
serum creatinine ≥ 1.1mg/dLหรือเพิ่มขึ้น 2 เท่าของค่าปกติ (0.5-1.1mg/dL )
ตับ (impaired liver function )
serum Liver enzyme สูงกว่าปกติ 2เท่า
ALP ปกติ(45-115 U/L)
ALT ปกติ(7-55 U/L)
AST ปกติ(8-48 U/L)
หากมี new-onset hytension ร่วมกับ severe features เพียง 1 ข้อ โดยที่ไม่พบโปรตีนในปัสสาวะ ก็ถือว่าเป็น Pre eclampsia with severe features
ยกเว้น BP SBP ≥ 160 mmHg or DBP ≥ 110 mmHg ต้องมีโปรตีนในปัสสาวะ
chronic hypertension with preeclampsia superimposed
Chronic hypertension ร่วมกับ new-onset proteinuria ร่วมกับ severe features
ภาวะความดันโลหิตสูงเกิดทวีความรุนแรงขึ้นเนื่องมาจากการตั้งครรภ์
โปรตีนในปัสสาวะเพิ่มขึ้นรวดเร็ว,เกล็ดเลือดต่ำ,เอนไซม์ตับผิดปกติ
Chronic hypertension (CHT)
ตรวจพบก่อนการตั้งครรภ์หรือวินิจฉัยก่อนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์ หรือความดันโลหิตสูงที่วินิจฉัยหลัง 20 สัปดาห์และยังคงอยู่หลังคลอดเกิน 12 สัปดาห์
Systolic ≥ 140 mmHg หรือ diastolic ≥ 90 mmHg
ไม่มี severe features
5.HELLP Syndrome
Hemolysis (H)
การแตกหรือการสลายของเม็ดเลือดแดง จาก LDH > 600 IU/L หรือ serum bilirubin ≥ 1.2 mg/DL
elevated liver enzymes (EL)
ค่าเอนไซม์ตับสูงขึ้น Serum AST > 70 U/L หรือ ALT >50 IU/L
Low platelet ( LP )
platelet count ≤ 100,000 /ไมโครลิตร
การวินิจฉัยแต่ละภาวะ
new-onset hytension
SBP ≥ 140 mmHg or DBP ≥ 90 mmHg วัด 2 ครั้ง ห่างกันอย่างน้อย 4 ชม.
SBP ≥ 160 mmHg or DBP ≥ 110 mmHg วัด 2 ครั้ง ห่างกันอย่างน้อย 15 นาที
new onset proteinuria
ปัสสาวะที่เก็บ 24 ชม.Urine protein มากกว่าหรือเท่ากับ 300 mg
Urine protein/creatinine ratio/index (UPCI) ≥ 0.3 mg/dL
Urine Dipstick ≥ +1 /Urine analysis reading ≥ 2+
severe features
SBP ≥ 160 mmHg or DBP ≥ 110 mmHg วัด 2 ครั้ง ห่างกันอย่างน้อย 15 นาที
เกล็ดเลือดต่ำ (thrombocytopenia) น้อยกว่า 100,000 /ลูกบาศก์ มม.
ไตวาย (renal insufficiency) serum creatinine ≥ 1.1mg/dLหรือเพิ่มขึ้น 2 เท่าของค่าปกติ (0.5-1.1mg/dL )
ตับ (impaired liver function ) serum Liver enzyme สูงกว่าปกติ 2เท่า หรือมีอาการปวดบริเวณใต้ลิ้นปี่หรือใต้ชายโครงขวาอย่างรุนแรงและอาการไม่หายไป
มีภาวะอื่นร่วมด้วย น้ำท่วมปอด ปวดศรษะไม่ตอบสนองต่อยา ตาพร่ามัว
ความหมาย
มีค่าความดันโลหิต systolic มากกว่า หรือเท่ากับ 140 มม.ปรอท หรือค่าความดันโลหิต diastolic มากกว่าหรือเท่ากับ 90 มม.ปรอท โดยวัด 2 ครั้ง ห่างกัน 4 ชั่วโมง
Severeiranty Hypertension หมายถึง
หญิงตั้งครรภ์ที่มีค่าความดันโลหิต systolic มากกว่าหรือเท่ากับ 160 มม ปรอท หรือค่าความดันโลหิต diastolic มากกว่าหรือเท่ากับ 110 มม.ปรอท โดยระดับความดันโลหิตปกติก่อนตั้งครรภ์ โดยวัด 2 ครั้งห่างกัน 4 ชั่วโมง
พยาธิสรรีภาพของภาวะความ
ดันโลหิต สูงขณะตั้งครรภ์
รก และมดลูก (placenta and uterus)
หลอดเลือดตีบตัน ปริมาณเลือดที่ไหลผ่านระหว่างรกและ
มดลูก (uteroplacental perfusion) ลดลง
การทําหน้าที่ของรกเสื่อมลง
ระบบประสาท (neurological system
ปวดศีรษะ ระดับความรูสึกตัวเปลี่ยนแปลง
มี hyperreflexia หรือ มีอาการชักเกร็ง-ชัก กระตุก (seizure)
เยื่อบุหลอดเลือดถูกทําลาย
เกิดการแตกของหลอดเลือดฝอย
เกิดการหดรัดตัวของหลอดเลือดที่จอตา
อาจทําให้เกิดการหลุดของจกตา (retinal detachment)
อาจเกิดอาการตาบอด (cortical blindness)
ระบบไต (renal system)
เกิด glomerular capillary endotheliosis
glomerular infiltration rate ลดลง
เซลล์ร่างกายที่เสีย โปรตีนจะมีความดันภายในเซลล์
(oncotic pressure) ลดลง
เกิดการคั่งของน้ำในเนื่อเยื่อ จึงทำให้บวมน้ำในอวัยวะต่างๆ
ระบบหัวใจและปอด (cardiopulmonary system)
มีplasma albumin ลดลง
เกิด proteinuria และการรั่วของ capillaries นี้ทําให้
colloid osmotic pressure ลดลง
การได้รับสารน้ำอย่างรวดเร็วจะทำให้เกิดน้ำท่วมปอดได้ง่าย
ระบบเลือดและการแข็งตัวของเลือด (hematologic and
coagulation system)
มีภาวะเกล็ดเลือดต่ำอย่างเฉียบพลัน
กลไกลทางระบบภูมิคุมกันหรือเกล็ดเลือดไปจับตัวเกาะกลุ่มตามเยื่อบุหลอดเลือดที่ถูกทำลาย
เกิด intravascular hemolysis
มีการแตกและการทําลายเม็ดเลือดแดง
ระบบตับ (hepatic system)
การเกิด generalized vasoconstriction
มีอาการปวดใต้ชายโครงขวา หรือจุกแน่นใต้ลิ้นปี่ คลื่นไส้อาเจียน
blood glucose ลดลง
อาจเกิดตับแตก (hepatic rupture)
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
ดัชนีมวลกายตั้งแต่ 30 kg/m2 ขึ้นไป หรืออ้วน
ผ่านการคลอดบุตรคนก่อนมาอย่างน้อย 10 ปี
สตรีที่ไม่เคยคลอดบุตรมาก่อน (nulliparity)
ประวัติครรภ์เป็นพิษในครรภ์ก่อน มีความเสี่ยงเพิ่มขึ้น 7 เท่า
สตรีอายุมากขึ้นตั้งแต่ 35 ปี ขึ้นไป
การตั้งครรภ์แฝด ครรภ์แฝดที่มีจํานวนทารกมาก
ความผิดปกติทางสูติกรรม
อาการและอาการแสดง
ภาวะ preeclampsia
อาการแสดง
ตาบอดจากพยาธิสรีรภาพของครรภ์เป็นพิษในสมอง
ความดันโลหิตมากกว่า 140/90 mmHg อายุครรภ์ 20 สัปดาห์ขึ้นไป
กรณีไม่มี Proteinuria ต้องมีอาการดังนี้ 1 ข้อ
Trorribocytopemia : เกล็ดเลือดต่ำกว่า 100,000/ลบ.มล
Renal isuufficiency : serum creatinine มากกว่า 1.1 มก/ดล. หรือเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า
Impaired Liver function มีการเพิ่มขึ้นของคำ Liver transaminase เป็น 2 เท่าของค่าปกติ
Pulmonary edema
Cerebral wo Visual symptoms
ตรวจปัสสาวะโดยใช้แถบตรวจ (Dipstick) พบมีระดับ+1 หรือมากกว่า)
ภาวะ Eclampsia
มีอาการชักร่วมกับ pre eclampsia ซึ่งอาการชักต้องไม่ได้เกิดจากภาวะอื่น
อาการนำ ก่อนการช้าจะมีการนำมาก่อน เป็นสิ่งที่สำคัญมากที่ต้องตรวจหาอาการเหล่านั้น ได้แก่
เจ็บที่ลิ้นปี่ หรือใต้ชายโครงอย่างรุนแรง (เกิดจากการขยายแคปซูลของตับ หรือเลือดออกได้แคปซูล
ปวดศีรษะมาก ตาพร่ามัว
อาเจียน ตื่นตัวทางประสาท
ระยะก่อนชัก (Premonitoring stage)
ระยะเริ่มแรกของอาการชัก (Stage of invasion)
ระยะชัก เกร็ง (Stage of contraction หรือ tonic stage)
ระยะชัก กระตุก (Stage of convulsion หรือ clonic stage)
ระยะหมดสติ(coma หรือ unconscious)
ภาวะ Gestational hypertension
ไม่มีโปรตีนในปัสสาวะ หรือ<300 mg. ใน urine 24 hr
BP กลับสู่ระดับปกติใน 12 wk. หลังคลอด
วินิจฉัยได้ครั้งแรกในระหวา่งการตั้งครรภ์หลังอายุครรภ์20 สัปดาห์
chronic hypertension
ความดันโลหิตสูงที่ตรวจพบก่อนตั้งครรภ์หรือวินิจฉัยก่อนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
ความดันโลหิตวินิจฉัยหลัง 20 สัปดาห์และยังคงอยู่หลังคลอดเกิน 12 สัปดาห์
chronic hypertension with superimposed preeclampsia
chronic hypertension ร่วมกับ preeclampsia
ผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อทารก
รกลอกตัวก่อนกําหนด
ขาดออกซิเจน มีกรดคั่ง( Acidosis )
ทารกเจริญเติบโตช้า ( FGR )
คลอดก่อนกำหนด ( Preterm labor)
แท้งหรือเสียชีวิตในครรภ์ ( DFIU )
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด (Abruptio placenta)
ภาวะตกเลือดจากภาวะเลือดไม่แข็งตัว (Disseminated Intravascular Coagulation : DIC)
ภาวะหัวใจขาดเลือด (myocardial infarction)
าวะหัวใจล้มเหลว (Congestive heart failure) จากการมี venous return เพิ่มอย่างรวดเร็ว
ภาวะปอดบวมน้ำ (pulmonary edema)
เลือดออกในสมอง (cerebral hemorrhage)
ภาวะเกล็ดเลือดต่ำ (thrombocytopenia)
ภาวะการหลุดออกของเรตินา (retina detachment) ทำให้ตาบอดได้
แนวทางการดูแลรักษา
Preeclampsia
Preeclampsia without severe features
ซักประวัติและตรวจร่างกายอย่างละเอียด ติดตามสังเกตอาการและอาการแสดงทุกวัน เจาะเลือด CBC
ประเมินความดันโลหิตทุก 2ครั้ง /สัปดาห์
ตรวจโปรตีนในปัสสาวะ 24 ชั่วโมง ควรตรวจอย่างน้อย 3 วัน หรือตรวจ urine protein creatinine index (UPCI)
strict bed rest ไม่จําเป็นต้องให้ยากล่อมประสาทและยาลดความดันโลหิต
ตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง เพื่อประเมินหรือยืนยันอายุครรภ์ แยกโรค molar pregnancy และ fetal hydrops ถ้าเป็นการตั้งครรภ์ปกติให้ติดตามประเมินภาวะสุขภาพทารกในครรภ์ เช่น ประเมิน หนักตัวทารก ปริมาณน้ำคร่ำ
หลักสำคัญ ระวังการเกิดภาวะ severe Preeclampsia
GA > 37 wks ควรให้คลอด
GA < 37 wks การรักษาแบบประคับประคอง (expectant management)
ประเมินการนับลูกดิ้นทุกวัน
ในระยะคลอดเฝ้าระวังความดันโลหิตสูง 72 ชม.หลัง คลอด และวัดซ้ำ 7-10 วัน หลังคลอด
eclampsia
ตรวจสอบภาวะ oliguria หรือ anuria โดยคาสายสวนปัสสาวะ
และวัดปริมาณปัสสาวะทุกชั่วโมง
ควบคุมการชักและป้องกันการชักโดยให้ MgSO4 loading dose ตามด้วย maintenance dose ให้ทางหลอดเลือดดำ
ติดตามและตรวจสอบอาการเปลี่ยนแปลงอย่างใกล้ชิดตลอดเวลา ควบคุมสัณญาณชีพโดยเฉพาะการหายใจ ให้ออกซิเจนทาง cannular หรือ mask with bag
Eclampsia ที่เจ็บครรภ์คลอด ห้ามใช้ tocolytic drug ในทุกกลุ่มอายุ
ฝ้าระวังการตกเลือดหลังคลอด
preeclampsia with severe features
เริ่มให้ยา magnesium sulfate (MgSO4) ทางหลอดเลือดดำทันที ให้การพักผ่อนอย่างเต็มที่บนเตียง พักรักษาอยู่บนเตียง (absolute bed rest) เพื่อป้องกันการชัก
ประเมินอาการแสดงของ Mg toxicity เป็นระยะ อย่างน้อยชั่วโมงละครั้ง
patellar reflex : Absent
ปัสสาวะ น้อยกว่าหรือเท่ากับ 100 มม. /4 ชั่วโมง หรือ น้อยกว่า 25 มล./ชั่วโมง
หายใจ น้อยกว่า 14 ครั้ง/นาที
ตรวจระดับของ serum MgSO, 4-6 ชั่วโมง หลังให้ยา และติดตามเป็นระยะ (ระดับที่เหมาะสมคือ 4.8-3.4 มก/ดล. หรือ 4-7 mEq/L และควรทำในรายที่ creatinine มากกว่า หรือ เท่ากับ 1 มล./ดล.)
ให้ยาลดความดันโลหิตเมื่อ : systolic BP ≥160 mmHg. 150 diastolicBP ≥ 110 mmHg
ประเมินความดันโลหิตทุก 15 นาที จนกว่าจะคงที่ จากนั้นประเมินทุก 1 ชั่วโมง จนกระทั่งคลอด
หลีกเลี่ยงการใช้ยาขับปัสสาวะ เนื่องจากมี intravascular volume น้อย และยาอาจทําให้ทารกในครรภ์เกิดภาวะ hypoxia ได้ ง่าย
หลักสำคัญที่สุด คือ ป้องกันชัก ควบคุมความดันโลหิต และยุติการตั้งครรภ์
GA < 24 wks
การใช้ยารักษาความดันโลหิตสูง
First line therapy
1.Hydralazine 25 mg/ 2ml
บริหารยา
Test dose ปริมาณ 1 mg เข้าทางหลอดเลือดดำนาน 2 นาที วัดความดันทุก 5 นาที
Treatment dose ปริมาณ 5 - 10 mg ฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ นาน 2 นาที วัดความดันโลหิต 20 นาที
ผลข้างเคียง หัวใจเต้นผิดปกติ จังหวะไม่สม่ำเสมอ ใจสั่น ปวดศีรษะ
กลุ่ม Antihypertensive ซึ่งออกฤทธิ์โดยตรงที่ กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือด ทำให้กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือดคลายตัว มีผลทำให้ความดันโลหิตลดลง cardiac output มากขึ้น และเลือดไหลเวียนไปเลี้ยงรกดีขึ้น
2.Labetalol 25 mg/5 mt
บริหารยา
กรณีให้เป็น IV bolus ผสมยา 100 mg/20ml (4 ampoules) ในสารละลาย 80 ml รวมเป็น 100 ml จะได้ความ เข้มข้นยา : mg/ml
ให้ยา 20 mg เข้าทางหลอดเลือดดำช้าๆ นาน 2 นาที วัดความดันโลหิตใน 10 นาที ถ้าความดันโลหิตยังไม่ลดลงให้เพิ่ม อีก 40 mg เข้าทางหลอดเลือดดำช้าๆ นาน 2 นาที วัดความดันโลหิตใน 10 นาที
3.Nicardipine 10,20 mg/แคปซูล
กลุ่ม calcium channel blocker ออกฤทธิ์ในการลดความดันโลหิต โดยการป้องกัน calcum เข้าสู่เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจและหลอดเลือด ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจทำงานน้อย อัตราการเต้นของหัวใจลดลง และออกฤทธิ์ที่ หลอด ทำให้หลอดเลือดคลายตัว ยาสามารถผ่านน้ำนมได้ จึงพิจารณาถ้าเป็นมารดาหลังคลอด
บริหารยา
รับประทาน10 mg วัดความดันโลหิตใน 20 นาที ถ้าความดันโลหิตยังสูง ให้อีก 20 mg แล้ววัดความดันโลหิตใน 20 นาที ถ้าความดันโลหิตยังสูง ให้อีก 20 mg
ในกลุ่มนี้มักจะให้ในกรณีที่หญิงตั้งครรภ์ไม่ได้รับการอดอาหาร และยางทางปาก คือ ขณะที่ยังไม่เข้าสู่ระยะคลอด หรือในระยะหลังคลอด
ผลข้างเคียง ความดันโลหิตลดต่ำลงอย่างรวดเร็ว เลือดไหลเวียนไปเลี้ยงทารกไม่เพียงพอ
Secondary line therapy
1.Nicardipine 2 mg/2ml ,10mg/10ml
ผสม Nicardipine 1 ampoule (10 mg/10 ml) ใน NSS 90 ml รวมเป็น 100 ml จะได้ความเข้มข้น 0.1 mg/ml หยด เข้าทางหลอดเลือดดำ อัตรา 25-30 m โมง (2.5-5 m /ชั่วโมง) โดยค่อยๆ titrate เพิ่ม 2.5 mg/ ชั่วโมง ทุก 15 นาที ขนาดสูงสุดไม่เกิน 15 mg/ ชั่วโมง
ห้ามใช้ Cardiogenic shock, recent myocardial acute unstable angina
2.Labetalol 20 ampoule (500 mg/100 ml.)
ผสมในสารละลาย 400ml รวมเป็น 500 ml จะได้ความเข้มข้น 1 mg/ml เริ่มหยดเข้าทางสารน้ำทางหลอดเลือดดำอัตรา 20 mg/ชั่วโมง เพิ่มได้ 20 /โมงทุก 30 นาที total dose ไม่เกิน 160 mg/
สารละลายที่สามารถผสมใช้ผสม ได้แก่ 0.9% NSS, 5% D/NSS, 5%D/N/2, RL
ยากันชัก
กลุ่ม Anticonvulsatit ออกฤทธิ์ลดการกระตุ้น CNS และออกฤทธิ์ที่ mybneural junction โดยการลดการปล่อย acetylcholine เกิด การปิดกั้น neuromuscular transmission ทำให้กล้ามเนื้อคลายตัว ยายังมีฤทธิ์ทำให้เกิดการขยายตัวของหลอดเลือดเพิ่มการ ไหลเวียนเลือดไปเลี้ยงที่มดลูกและใด ยานี้ทำให้ความดันโลหิตลดลงได้บางส่วนแต่ส่งผลให้ความถี่และความแรงของการหดรัดตัวของ มดลูกลดลงด้วย
บริหารยา
Maintenance dose
IV regiment : 50% (MgSO4) จำนวน 20 กรัม ผสมใน 5%-D/W 500 มล. อัตรา 1-2 กรัม/นาที หยด เข้าทางหลอดเลือดดำ
IM regiment : 50% (M6504) จำนวน 5 กรัม ฉีดเข้าทางกล้ามเนื้อ ทุก 4 ชั่วโมง
Initial dose
IV regiment : เริ่มให้ loading dose ด้วย 100% (Mg500 จำนวน 4 - 6 กรัม ฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำช้า ๆ ด้วยอัตรา ไม่เกิน 1 กรัม/นาที หรือ ผสมในสารละลาย 100 มลให้นาน 15-20 นาที
IM regiment : เริ่มให้ loading dose ด้วย 10% (MgSO4) จำนวน 4 กรัม ฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ ช้า ๆ ด้วยอัตรา ไม่เกิน 1 กรัม/นาที และตามด้วย 50% MgSO: 10 กรัม ฉีดเข้าทางกล้ามเนื้อแบ่งฉีดที่บริเวณ สะโพกข้างละ 5 กรัม
การให้ยานี้ควรให้ต่ออย่างน้อยเป็นเวลา 24 - 48 ชั่วโมงหลังคลอด หรือจนกระทั่งปัสสาวะออกมากกว่า 100 ซีซี/2 ชั่วโมง
ผลข้างเคียง
ประเมิน Mg toxicity
patellar reflex : Absen
ปัสสาวะ น้อยกว่าหรือเท่ากับ 100 มม./4 ชั่วโมง หรือ น้อยกว่า 25 มล / ชั่วโมง
หายใจ น้อยกว่า 14 ครั้ง นาที
ตรวจระดับของ serum MgSO4 4-6 ชั่วโมง หลังให้ยา และติดตามเป็นระยะ (ระดับที่เหมาะสมคือ 4.8.8.4 มก/ดล. หรือ 4-7 mEq/L และควรทำในรายที่ creatinine มากกว่า หรือ เท่ากับ 1 มล/ดล)
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี,ปัสสาวะออกน้อย,สับสน,ทารกเมื่อคลอดหลังมารดาได้รับยา 2 ชั่วโมง ได้แก่ ภาวะ hypermagnesemia ได้แก่ : ซึม ความตึงตัวของกล้ามเนื้อไม่ดี อ่อนปวกเปียก
Antidote ของ MgSO4 คือ Calcium Gluconate ซึ่งจะให้ 1 กรัม (10 ซีซี) ของ 10% Calcium Glucorate โดยให้ฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำช้า ๆ
นางสาวนนทรี โรจน์สิริรักษ์ เลขที่60 รหัสนักศึกษา 62102301060 กลุ่ม E1
อ้างอิง
กนกวรรณ ฉันธนะมงคล. (2559). การพยาบาลสตรีที่มีโรคร่วมกับ
การตั้งครรภ์. ปทุมธานี: สํานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยรังสิต.
WY/157/ก125ก/2559/
นันทพร แสนศิริพันธ์ และฉวี เบาทรวง. (2560).การพยาบาลและ
การผดุงครรภ์:สตรีที่มีภาวะแทรกซ้อน. เชียงใหม:่ โครงการ
ตํารา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. WY/
๑๕๗/น๔๑๙ก/๒๕๖๐.
รังสรรค์ เดชนันทพิพัฒน์และสุชยา ลือวรรณ. (2563). ภาวะความดัน
โลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ (Hypertension in
Pregnancy).สืบค้นจาก
https://w1.med.cmu.ac
.
th/obgyn/lecturestopics/topic- review/6655/