Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 ปริมาณ มูลค่างาน ผู้ก่อสร้าง และสัญญาก่อสร้าง - Coggle Diagram
บทที่ 3 ปริมาณ มูลค่างาน
ผู้ก่อสร้าง และสัญญาก่อสร้าง
3.1 ทั่วไป
กล่าวถึง ลำดับเตรียมการก่อนก่อสร้าง เพื่อที่จะเริ่มขั้นตอนก่อสร้าง ประกอบด้วย ปริมาณ มูลค่างาน ผู้ก่อสร้าง และสัญญาก่อสร้าง
3.2 ประกวดราคา
หรือประมูลงาน และเอกสาร
กำหนดให้มีผู้เข้าร่วมประกวดราคา หรือประมูลน้อยราย
อาจมีเฉพาะบางโครงการ
เอกสารประกวดราคาประกอบด้วยสองส่วนหลัก: ข้อเสนอด้านเทคนิคและข้อเสนอทางการเงิน
3.3 องคาพยพของ
สัญญาก่อสร้าง
ประกอบด้วย คู่สัญญา วัตถุประสงค์ของสัญญา ภาระหน้าที่ หรือ หนี้ที่แต่ละฝ่ายจะต้องทำหรือตอบแทนคู่สัญญา
ทั้งผู้ว่าจ้าง และผู้รับจ้าง ตกลงที่จะทำสัญญา ตามแบบรูป รายการก่อสร้าง แผนงาน และงวดเงินหรืออื่นๆ ซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งของสัญญา ดังนั้น แบบรูป ควรมีรายละเอียดครบถ้วน
3.6 FIDIC และสัญญามาตรฐาน
สหพันธ์วิศวกรที่ปรึกษานานาชาติ ย่อมาจาก (Federation International des Ingenieurs Conseils – FIDIC ) สัญญา FIDIC แบ่งเป็น สามส่วน คือ สัญญาเล่มสีแดง (FIDIC red book) ใช้สำหรับ งานอาคาร และงานวิศวกรรม สัญญาเล่มสีเหลือง (FIDIC yellow book) ใช้กับงานระบบ ไฟฟ้า หรืองานเครื่องกล งานโรงงาน งานอาคาร และงานวิศวกรรมอื่น โครงการออกแบบโดยผู้รับจ้าง
สัญญาเล่มสีเงิน (FIDIC Silver book) ใช้กับกระบวนการผลิตไฟฟ้า โรงงาน โครงสร้าง หรือระบบสาธารณูปโภคอื่นที่คล้ายคลึงกัน
3.4 รูปแบบของ
สัญญาก่อสร้าง
1.)สัญญาแบบเหมาจ่ายหรือสัญญาที่คงราคา
2.)สัญญาแบบราคาต่อหน่วย
3.)สัญญาแบบต้นทุนรวมกำไรเป็นร้อยละ
4.)สัญญาแบบต้นทุน
5.)สัญญาแบบมีค่าตอบแทนแรงจูงใจ
6.)สัญญาจ้างออกแบบรวมก่อสร้าง
7.)สัญญาเหมาจ้างแบบเบ็ดเสร็จ
8.)สัญญา หรือโครงการแบบ Built–Operate–Transfer (BOT)
หรือ Built–Transfer–Operate
9.) สัญญาหรือโครงการแบบ Build Own and Operate (BOO)
10.)สัญญาหรือโครงการแบบ Build-Own–Operate-Transfer (BOOT)
11.)สัญญา หรือโครงการแบบ Build–Own–Operate–Subsidize-Transfer(BOOST)
12.)สัญญาหรือโครงการแบบ Build – Rent-Transfer (BRT) หรือ Build Lease and Transfer (BLT)
13.)สัญญา หรือโครงการแบบ Acquire Operate and Transfer (AOT)
3.5 สัญญาก่อสร้างที่ปรับราคาได้
ในประเทศไทย Escalation Factor หรือ "ค่า K" หมายถึง ดัชนีใชวัดการเปลี่ยนแปลง ของค่างาน ณ ระยะเวลาที่ผู้รับเหมาก่อสร้างเปิดซองประกวดราคาได้ เปรียบเทียบกับระยะเวลาที่ส่งงานในแต่ละงวด โดยมีเงื่อนไขสำคัญ คือ จะใช้ ค่า Kได้เฉพาะในกรณีที่ผู้รับจ้างงานจากส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ