Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 15 การวิจัยและพัฒนาเพื่อการบริการการสื่อสารในการส่งเสริมและพัฒนาก…
หน่วยที่ 15 การวิจัยและพัฒนาเพื่อการบริการการสื่อสารในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความสำคัญและแนวคิดของการวิจัยและพัฒนา
การวิจัย (research) เป็นกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ทำการศึกษาค้นคว้าหาความจริงหรือการพิสูจน์เพื่อหาคำตอบหรือข้อเท็จจริงบางประการที่ผู้วิจัยสนใจต้องการหาคำตอบนั้น
ขั้นตอนการวิจัยและพัฒนา จำนวน 9 ขั้นตอน
ขั้นตอนการวิเคราะห์ความต้องการ
ขั้นตอนการวางแผนหรือออกแบบ
ขั้นตอนการพัฒนาต้นแบบ
ขั้นตอนการทดสอบประสิทธิภาพ
ขั้นตอนปรับปรุงเบื้องต้น
ขั้นตอนการทดลองในพื้นที่นำร่อง
ขั้นตอนการพัฒนาขั้นสุดท้าย
ขั้นตอนการเผยแพร่และส่งเสริม
ขั้นตอนประเมินและปรับปรุงต่อเนื่อง
ความสำคัญของการวิจัยและพัฒนาการบริหารการสื่อสาร
เสริมสร้างและพัฒนาวงการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ส่งเสริมให้มีการใช้กระบวนการวิจัยในการพัฒนารูปแบบและเทคนิคการถ่ายทอดการสื่อสาร
สนับสนุนให้มีการตรวจสอบประสิทธิภาพทางด้านการเกษตร
เป้าหมายของการวิจัยและพัฒนาการบริหารการสื่อสาร
เพื่อนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในการแก้ไขปัญหาในกระบวนการบริหารการสื่อสาร
เพื่อสร้างผลผลิตที่เป็นรูปธรรมและสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การวิจัยและพัฒนาบุคลากรเพื่อการสื่อสารในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การวิจัยและพัฒนาผู้ส่งสารเพื่อการสื่อสาร
ผู้ส่งสาร หมายถึง บุคคลที่เป็นเริ่มต้นการสื่อสารที่ให้บริการด้านความรู้ไปสู่เกษตรเพื่อให้
เกษตรกรมีการเปลี่ยนแปลงเชิงพฤติกรรมที่ดีขึ้น
ความสำคัญของผู้ส่งสาร
ด้านกระบวนการ
ด้านสาร
ด้านสื่อ
ด้านการปรับเปลี่ยนการสื่อสาร
ด้านประสิทธิภาพความสำเร็จ การล้มเหลวของการสื่อสาร
บทบาทของผู้ส่งสาร
บทบาทของผู้ถ่ายทอดข่าวสาร ข้อมูล และความคิดเห็น
บทบาทการสร้างความเข้าใจร่วมกัน
บทบาทการการจูงใจ
ปัจจัยที่มีผลต่อผู้ส่งสาร
ปัจจัยด้านความรู้และทักษะด้านการสื่อสาร
ปัจจัยด้านจิตวิทยาของผู้ส่งสาร
ปัจจัยด้านสังคมและวัฒนธรรม
ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ
ปัจจัยด้านนโยบาย
การวิจัยและพัฒนาผู้รับสารเพื่อการสื่อสารในการส่งเสริมฯ
ผู้รับสาร หมายถึง บุคคล กลุ่มบุคคล หรือมวลชน ที่มีการทำหรือสนใจทางด้านการเกษตร เป็นเป้าหมายหลักของการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร โดยเป็นผู้รับสาร ผ่านช่องทางต่างๆ ที่ส่งมาจากผู้ส่งสาร
ความสำคัญของผู้รับสาร
เป็นเป้าหมายหลักของการสื่อสาร
การรับรู้ต่อความหมายของสาร
การแสดงปฏิกิริยาตอบสนองต่อผู้ส่งสาร
ปัจจัยที่มีผลต่อผู้รับสารในการสื่อสาร
ทักษะและความรู้ด้านการสื่อสาร
ปัจจัยด้านจิตวิทยาของผู้รับสาร
ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ
ปัจจัยด้านการเมือง
ปัจจัยด้านสังคม-วัฒนธรรม
การวิจัยและพัฒนาความรู้และช่องทางเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การวิจัยและพัฒนาด้านความรู้เพื่อการสื่อสารในการส่งเสริมฯ
ความรู้ (knowledge) ว่าเป็นสารสนเทศที่อยู่ในตัวคนทั้งที่รู้และโดยไม่รู้ตัว เป็นสิ่งที่มีคุณค่าสูงมาก เพราะคนสามารถคิดสร้างสรรค์ สามารถตีความหมาย และตัดสินใจได้โดยอาศัยความรู้ดังกล่าว
ประเภทของความรู้
ความรู้ในด้านการเกษตร
ความรู้ในสาขาอื่นๆ ที่ทำให้เกิดการพัฒนาด้านการเกษตร
ลักษณะของความรู้ที่ดี
ความถูกต้อง
ความทันสมัย ทันต่อการใช้งาน
ความตรงประเด็น ตรงกับความต้องการ
ความสมบูรณ์ครบถ้วน
ความเชื่อถือได้
ง่ายต่อการนำไปใช้
การวิจัยและการพัฒนาด้านช่องทางการสื่อสารในการส่งเสริมฯ
ช่องทางในการสื่อสาร (Channel) หมายถึง ตัวกลางที่ช่วยในการนำส่งสารจากผู้ส่งสารไปยังผู้รับสาร
ความสำคัญของช่องทางการสื่อสาร
เป็นตัวกลางในการถ่ายทอดหรือบอกกล่าวเกี่ยวกับความรู้หรือข้อมูลข่าวสาร
เป็นตัวกลางในการถ่ายทอดความรู้ให้ผู้รับสารหรือกลุ่มเป้าหมายมีความเข้าใจในความรู้ ข้อมูลข่าวสารทางการเกษตรที่ถูกต้อง
เป็นตัวกลางในการแพร่กระจายความรู้หรือข้อมูลข่าวสารไปยังผู้รับสารได้อย่างกว้างขวางและรวดเร็ว
ประเภทของช่องทางการสื่อสาร
ช่องทางการสื่อสารที่พิจารณาจากผู้ส่งสาร
ช่องการสื่อสารที่พิจารณาจากจำนวนผู้รับสาร
ช่องทางการสื่อสารที่พิจารณาจากสื่อที่ใช้ในการส่งเสริม
ช่องทางการสื่อสารที่พิจารณาจากความรู้
ช่องทางการสื่อสารที่พิจารณาจากชุมชนที่ผู้รับสารอาศัยอยู่