Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ชายไทย 60 ปี ขับรถบรรทุก อาการสำคัญ: ปัสสาวะกะปริบกะปรอยตรวจพบต่อมลูกหมา…
ชายไทย 60 ปี ขับรถบรรทุก
อาการสำคัญ: ปัสสาวะกะปริบกะปรอยตรวจพบต่อมลูกหมากโต คาสาย Foley cath 2 เดือน แพทย์นัดผ่าตัด
BPH
การรักษาที่ศัลยกรรม 55 ปี (8/11/65)
0.9 % NSS 1,000 ml rate 100 cc/hr
Foley’s catch
Regular diet
Cefspan 1x2 pc
Paracetamol 500 mg 1tab prn q 6 hr
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Electrolyte: Normal
CBC:
: MCV (L) 78.4 fL
: MCH (L) 25.4 pg
: REW – CV (H) 14.6 %
RBC (H) 5.59 106/uL
PLT count (H) 443 103/uL
Sugar
NaF (H) 110 mg/dL
eGFR (L) 77 ml/min/1.73m2
Platelet estimate
: NE% (H) 77%
LY% (L) 17%
U/A
: Protein Trace
: Blood 2+
: Leukocyte 3+
: RBC 5-10 cell/HPE
: WBC 30-50 cell/HPE
: Bacteria many
: Clarity Slightly Turbid
EKG: Normal sinus rhythm
Normal rate 92 bpm
Set OR for TUR-P under RA (9/11/65)
NPO
cef-3 2g vein on call
Foley's cath No.20 or 22 3 หาง + Urine bag ไป OR
ข้อวินิจฉัยก่อนการผ่าตัด
มีภาวะวิตกกังวลเนื่องจากขาดความรู้ในการปฏิบัติตนก่อนและหลังผ่าตัด
ติดเชื้อทางเดินปัสสาวะเนื่องจากพร่องความรู้ในการดูแลตนเอง
เสี่ยงต่ออาหารไม่ย่อยเนื่องจากประสิทธิภาพการเคี้ยวลดลง
ประสิทธิภาพในการมองเห็นลดลงเนื่องจากมีอาการตาพร่ามัว
1.
สาเหตุ
ความเสื่อมของร่างกายตามวัยในผู้ชาย
และความเปลี่ยนแปลงของสมดุลฮอร์โมน
เกิดจากพันธุกรรม พบได้บ่อยในคนที่มีอายุมากกว่า 50 ปี
ผู้ป่วยที่มีประวัติคนในครอบครัวมีปัญหาเกี่ยวกับต่อมลูกหมาก หรือผู้ที่มีความผิดปกติของอัณฑะ จะยิ่งมีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคต่อมลูกหมากโตเพิ่มขึ้นๆ
พยาธิสภาพ
ฮอร์โมนไดไฮโดรเทสโทสเตอโรน (dihydrotestosterone: DHT) ลดลง
ทำให้เซลล์ต่อมลูกหมากอย่างผิดปกติจนเกิดเป็นก้อน (fibroadematous nodule)
เบียดเนื้อเยื่อของต่อมลูกหมากเข้าไปในกระเพาะปัสสาวะ เบียดท่อปัสสาวะทำให้ท่อปัสสาวะส่วนต่อมลูกหมากแคบลง
ทางเดินปัสสาวะอุดตัน ทำให้การขับถ่ายปัสสาวะผิดปกติร่วมกับความวัยสูงอายุ
1.ปัสสาวะบ่อยห่างกันไม่เกิน 2 ชั่วโมง
ปัสสาวะไหลไม่แรง
เวลาปวดปัสสาวะต้องรีบเข้าห้องน้ำ รอไม่ได้
ปัสสาวะไม่สุด
ปัสสาวะไหลไม่เป็นสาย ไหลกะปริดกะปรอย
ต้องเบ่งช่วยเวลาปัสสาวะ
ปัสสาวะบ่อยตอนกลางคืน
อาการและอาการแสดง
การวินิจฉัยโรค
การซักประวัติประกอบด้วย ประวัติเกี่ยวกับการปัสสาวะ เช่นปัสสาวะลำบาก ปัสสาวะไม่พุ่งหรือปัสสาวะไม่ออก
การตรวจร่างกาย โดยการตรวจทวารหนัก (Digital rcctal Exam : DRE) เพื่อประเมินขนาดและความผิดปกติของต่อมลูกหมาก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น ตรวจปัสสาวะ
การตรวจพิเศษอื่นๆ เช่น การตรวจโดยการส่องกล้องกระเพาะปัสสาวะ (Cystoscope)
การตรวจวินิจฉัยทางรังสีอื่นๆ การตรวจด้วยการฉีดสีเข้าทางหลอดเลือดดำ (Intra Venous Pyelogram : IVP)
การรักษา
ในกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการไม่รุนแรง ไม่จำเป็นต้องรักษา แต่ต้องมีการติดตามอาการเป็นระยะ
การรักษาโดยใช้ยา
การรักษาด้วยวิธีการผ่าตัดในรายที่มีอาการมาก
4.การรักษาวิธีอื่นๆ เช่น การผ่าตัดด้วยการใช้คลื่นไมโครเวฟ การรักษาด้วยเลเซอร์ แต่จะมีค่าใช้จ่ายที่สูงกว่า
TUR-P
การพยาบาล Spinal Anesthesia
Absolute bedrest 6-8 hr
ข้อวินิจฉัยหลังผ่าตัด
4.เสี่ยงต่อการอุดตันของท่อปัสสาวะเนื่องจากมีลิ่มเลือดหลังการผ่าตัด
5.เสี่ยงต่อการติดเชื้อที่ระบบทางเดินปัสสาวะเนื่องจากเนื้อเยื่อสูญเสียหน้าที่หลังผ่าตัด
1.ไม่สุขสบายเนื่องจากมีอาการปวดบริเวณที่แผลผ่าตัด
พร่องสุขวิทยาส่วนบุคคลเนื่องจากถูกจำกัดการเคลื่อนไหว
มีภาวะท้องผูกเนื่องจากเคลื่อนไหวร่างกายได้น้อยลง
วิตกกังวลเนื่องจากมีรายได้ลดลง
ผู้ป่วยขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตนเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
หลังผ่าตัด (9/11/65)
Absolute bed rest
On CBI ขวดละ 2-3 hr
Record V/S ,I/O
0.9% NSS 1,000 ml rate 80 cc/hr
Paracetamol 500 mg 1 tab prn q 6 hr
Ceftriaxone 2 gm vein q 24 hr
Morphine 3 mg vein q 6 hr
Soft diet
ดึง Traction foley
หลังผ่าตัด 10/11/65
ดูดน้ำออก balloon 15
Off traction
Absolute bed rest
CBI
Off CBI
ปัสสาวะยังมีสีแดงจึงให้ irrigate bladder/ลงจากเตียงไม่ได้
Ibuprofen 200 mg 1x3 oral q 4 hr
ข้อวินิจฉัยกลับบ้าน
ผู้ป่วยขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตนเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
การวางแผนจำหน่าย :
D-Diagnosis ให้ความรู้เรื่องโรคต่อมลูกหมาก สาเหตุ อาการ และการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง
M-Medicine แนะนำการใช้ยาที่ตนเองได้รับอยางละเอียด สรรพคุณของยา ขนาด วิธีใช้ ข้อควรระวังในการใช้ยา ตลอดจนการสังเกตภาวะแทรกซ้อนรวมทั้งข้อห้ามการใช้ยาด้วย
E-Environment การจัดการสิ่งแวดล้อมที่บ้านให้เหมาะสมกับภาวะสุขภาพให้เหมาะสม
T-Treatment เฝ้าสังเกตอาการตนเองถ้ามีอาการผิดปกติให้รีบมาพบแพทย์
H=Health ให้ความรู้ด้านสุขภาพ เช่น เน้นย้ำไม่ให้ผู้ป่วยกลั้นปัสสาวะ เพื่อป้องกันการเกิดซ้ำของโรค
O-Out patient แนะนำให้ตรวจตามนัด
D-Diet การเลือกรับประทานอาหารเหมาะสมกับโรคหลีกเลี่ยงหรืองดอาหารที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เช่น แนะนำให้รับประทานอาหารให้ครบ5หมู่ และอาหารที่มีกากใยสูงได้รับสารอาหารครบถ้วน
การรักษา
morphine 3 mg v q 6 hr
Cefspan 1x2 oral pc
ceftriaxone 2 gm v 24hr
Paracetamol 500 mg 2tab prn q 6 hr
3.
2.