Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Congestive Heart Failure ,hypertension, image, image, Right ventricle…
Congestive Heart Failure ,hypertension
-
Congestive Heart Failure
สาเหตุ
- มีแรงดันเลือดสูง (pressure overload) ได้แก่ ความดันโลหิตสูง (hypertension) ลิ้นเอออร์ติกตีบแคบ
aortic stenosis) หัวใจพิการชนิดผนังหัวใจหนา (hypertrophic cardiomyopathy
- มีปริมาตรเลือดมาก (volume overload) ได้แก่ กลุ่มที่มีลิ้นหัวใจเอออร์ติก ลิ้นไมตรัล ลิ้นไตรคัสปิดไม่มีประสิทธิภาพ
- กล้ามเนื้อหัวใจทำงานผิดปกติ (myocardial dysfunction) ได้แก่ โรคหัวใจพิการ กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
(myocarditis) โรคหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี (coronary heart disease)
- ความผิดปกติจากการไหลของเลือดเข้าสู่หัวใจ (Illing disorder) ได้แก่ ลิ้นหัวใจไมตรัลตีบ (mitral
stenosis) สิ้นหัวใจไตรคัสปิดตีบ (tricuspid stenosis) ภาวะหัวใจถูกเบียดกด (cardiac temponade)
- การเผาผลาญสูงขึ้น (increased metabolic demand) ได้แก่ ภาวะซีดมาก (severe anemio) ไข้สูง โรค
เหน็บชา (cardlicc beriberi) ต่อมไทรอยด์เป็นพิษ (thyrotoxicosis)
ผู้ป่วยรายนี้เกิดจากมีความดันในหลอดเลือดสูง ร่วมกลับมีไขมันในหลอดเลือด ไม่รับประทานยาต่อเนื่อง ทำให้หัวใจต้องทำงานหนัก เลือดไปเลี้ยงหัวใจได้ลดลง ทำให้กล้ามเนื่อหัวใจตายเเละวายในที่สุด
อาการและอาการแสดง
หัวใจซักซ้ายวาย
-
-
-
-
-
-
Left ventricle (LV บีบตัวลดลงทำให้ Stroke volume ลดลง เลือดค้างอยู่ใน Left ventricle แล้วย้อนขึ้นไปที่
Left atrium ต่อไปที่ Pulmonary vein และหลอดเลือดฝอยในปอดทำให้ความดันในหลอดเลือดดำที่ปอด(Pulmonary venous pressure) เพิ่มขึ้น เกิดภาวะ Pulmonary congestion และ C0 ลดลง พบว่ามักมีสาเหตุ
จากโรคความดัน โลหิตสูง กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด หรือ กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute MyocardialInfraction) ลิ้นหัวใจ Aortic ตีบหรือรั่ว หรือ Mital ตีบหรือรั่ว และยังอาจพบได้ในผู้ป่วยที่มีภาวะ
Cardio myopa thy หัวใจเต้นเร็วผิดจังหวะและผู้ป่วยที่ มีน้ำเกินเรื้อรัง โดยทั่วไปเมื่อเกิด Left-sided failure จะชักนำให้เกิด Right-sided failure ตามมาได้
-
-
-
พยาธิสภาพ
หัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงส่วสต่างๆได้เพียงพอ CO ลดลงประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ตัวคือ
1.preload คือปริมาณเลือดที่อยู่ในหัวใจล่างก่อนการบีบตัว ซึ่งจะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับ (venous return)
2.Afterload หมายถึง แรง (force) ที่หัวใจ
บีบตัวเพื่อผลักดันเลือดให้ออกไปจากหัวใจ ซึ่งแรงนี้จะต้องมากพอที่จะผลักดันให้ลิ้นหัวใจ
เอออร์ติกเปิดออกและมากกว่าแรงต้านทานในหลอดเลือด (peripheral vascular resistance,
PVR) ด้วย
3.Contractility คือ การบีบตัวของกล้ามเนื้อ
หัวใจ ซึ่งความสามารถในการบีบตัวของหัวใจนี้
จะเกี่ยวข้องกับการทำงานของระบบประสาทซิมพาเทติค
การรักษา
- Cardio protective drug : ใช้ B-blocker ลดความรุนแรงและอัตราเสียชีวิต
ในผู้ป่วย NYHA ระดับ I -IV ทั้งหัวใจขาดเลือด และหรือไม่ขาดเลือด แต่ไม่ควรให้B -blocker ขณะยังมีอาการเหนื่อยหอบ ควรใช้หลังจากอาการหายแล้ว
7.ในรายที่หัวใจวายระดับรุนแรง และอยู่ในเกณฑ์ที่ควรได้รับการผ่าตัด แพ
พิจารณาทำการผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจ ซึ่
3.2 Angiotensin I| receptor blocker (ARB) : ใช้สำหรับในกรณีผู้ป่วยไม่
สามารถทนต่อผลข้างเคียงของ ACEI เช่น อาการไอ ใน post MI ที่มีภาวะการทำงานลดลงพบว่า valsatan มีประสิทธิภาพเทียบเท่ากับ captopi และในผู้ป่วยที่มีหัวใจวายรุนแรง การ
ใช้ยา ACEI ร่วมกับ ARB อาจช่วยให้พื้นสภาพเร็ว (แต่อาจมีปัญหาไตวาย)
Enalapril 5 mg oral angiotensin converting enzyme inhibitors (ACE inhibitors หรือ ACEIs) มีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์แองจิโอเทนซินคอนเวอร์ติ้ง (angiotensin converting enzymes) ออกฤทธิ์ด้วยกลไกหลายอย่าง เช่น ขยายหลอดเลือด, ขับโซเดียมและน้ำออกจากร่างกาย เป็นต้น จึงส่งผลโดยรวมทำให้สามารถลดความดันโลหิตได้ อาการข้างเคียงของยาในกลุ่มนี้ อาการไอแห้งๆ เกิดผื่นที่ผิวหนัง
- HF Device therapy : Cardiac resynchronization therapy (CRT) หรือ implanted
cardioverter-defibrillation (ICD) คืออุปกรณ์กระตุ้นการทำงานของหัวใจ ใช้ในกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการทางคลินิกทั้งๆ ที่ให้ยาเต็มที่แล้ว ควรพิจารณาใส่ CRT biventricular pacemaker ถ้ามี
ข้อบ่งชี้ว่ามีหัวใจวายซีกซ้าย
2.ยาขับปัสสาวะ
2.1 Hydrochlorothiazide เป็นยาขับปัสสาวะ ลดอาการบวมหรือเหนื่อยได้2.2 Furesemide มีประโยชน์ในการรักษาอาการและภาวะเฉียบพลันอาจให้ทาง IV หรือรับประทาน
2.3 Spinolactone antagonist มีประโยชน์ ในการลดอาการ การใช้ spinolactone
antagonist จะทำให้เสริมฤทธิ์ diuretic อื่นๆ ได้มาก ในกรณีมีภาวะน้ำเกินมากๆ ควรใช้ตั้งแต่ผู้ป่วย NY class II สามารถลด myocardial fibrosis
2.4 Inotropic;dobutamine มีประยชน์ในกรณีหัวใจบีบตัวไม่ดี ในระยะเฉียบพลันแต่ต้องระวังในผู้ป่วยความดันโลหิตต่ำเพราะทำให้ลด SVR ส่วน dopamineใช้ในกรณีความดันต่ำร่วมด้วย
2.5 Nitrate ควรใช้ร่วมกับ direct vasodilatation drug หลังจากใช้ยาขับปัสสวะ
-
Isosorbide (Isordil) 10 mg การออกฤทธิ์ของยาจะขยายหลอดเลือดทำให้เลือดและออกซิเจนไปเลี้ยงหัวใจเพิ่มขึ้น ผลข้างเคียง อาการผื่นลมพิษ หายใจลำบาก บวมใบหน้า บวมริมฝีปาก ลิ้นและคอ
nitroglycerine ยาขยายหลอดเลือดในกลุ่มไนเตรต ที่ช่วยให้เลือดไหลเวียนได้ดีขึ้นผลข้างเคียง มีผดผื่นขึ้น หรือคันตามผิวหนัง แน่นหน้าอก หายใจลำบาก หน้าบวม ลิ้นบวม ปากบวม หรือคอบวม
- Digoxin : ใช้ในผู้ป่วยหัวใจวายที่มี atial fibrillation ในรายที่มีหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ปกติ (normal sinus arrhythm) จะช่วยลดอาการ และลดปัจจัยเสี่ยงของ embolic stroke
- รับประทานอาหารที่มีโซเดียมต่ำ (Na<2gm /day) และควบคุมน้ำในภาวะที่
เหมาะสมในคนไข้ที่มีอาการ
เกณฑการวินิฉัย
-
ㆍ ออกแรงหรือออกกำลังกายได้น้อยลง
ㆍนอนราบไม่ได้ (orthopnea)
ㆍ หายใจหอบเหนื่อยหลังนอนหลับ (PND)paroxysmal nocturnal dyspnea
ㆍJugular venous pressure JVP สูง
ㆍพบเสียง S3 gallop
ㆍตรวจพบ apical impulse ออกด้านข้าง(lateral shifted apical impulse)
ㆍบวมตามแขนขา (extremity edema)
ผลการตรวจที่บ่งชี้ความผิดปกติของหัวใจ
ㆍLVEF(Left ventricular ejection fraction) <40% (HFrEF)
ㆍ เงาหัวใจในเอกซเรย์ปอดกว้างขึ้น (HFrEF)
ㆍ LVEF >40% ร่วมกับหัวใจห้องล่างซ้ายหนา,หัวใจห้องบนซ้ายใหญ่ขึ้น หรือพบ diastolic
-
-
-
-
hypertension
พยาธิสภาพ
พยาธิสรีรวิทยาของภาวะความดันโลหิตสูง
พยาธิสรีรวิทยาของความดันโลหิตสูง ไม่สามารถที่จะอุธิบายด้วยกลไกใดกลไกหนึ่งได้ชัดเจน อย่างไรก็ตามภาวะนี้เป็นความผิดปกติของการควบคุมความดันโลหิตให้อยู่ในระดับปกติได้ (BP = CO x TPR) ฉะนั้นปัจจัยใดก็ตามมีผลทำให้ความดันโลหิตสูง จะเกี่ยวข้องกับปริมาณเลือดที่ถูกบีบออกจากหัวใจต่อนาที และวามต้านทานปลายทางรวมของหลอดเลือดเป็นสำคัญ ฉะนั้นกลไกการเกิดความดันโลหิตสูง
-
อาการและอาการแสดง
-
-
อาการคลื่นไส้ และตามัวร่วมด้วย ในบางรายอาจจะมีอาการอื่นร่วมด้วย เช่น เหนื่อยง่าย เนื่องจากหัวใจต้องทำงานหนัก
ผู้ป่วยมีอาการเหนื่อยง่าย เนื่องจากหัวใจต้องทำงานหนักขึ้นเพื่อบีบตัวสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงร่างกายสู้กับความดันในหลอดเลือดส่วนปลายที่สูงขึ้น
การรักษา
การรักษาโรคความดันโลหิตสูง ประกอบด้วย (สมาคมความดันโลหิตสูงแห่งประเทศไทย, 2555)
- การรักษาโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น การลดน้ำหนัก การใช้ DASH (dietary approach to stophypertension diet) การจำกัดเกลือในอาหาร การออกกำลังกาย และการลดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
- การรักษาโดยการใช้ยาลดความดันโลหิต ยาที่นิยมใช้ในการรักษามี 4 กลุ่มที่นิยมใช้ทั่วโลกคือ 1) ยา กลุ่มde-type diuretic 2) กลุ่ม calcium channel blocker (CCBs) 3) กลุ่ม angiotensin conver
bitors (ACEIs) และ กลุ่ม 4) angiotensin II receptor blockers (ARBs) ซึ่ง The Eighth Joint Nation
ผู้ป่วยได้รับยา
Nicardipine ยาปิดกั้นแคลเซียม (Calcium Channel Blocker) (1:5) vein 18 cc/hr
AMLODIPINE 5 mg (Calcium Channel Blocker)
Manidipine oral 20 mg (Calcium Channel Blocker)ออกฤทธิ์โดยการปิดกั้นการไหลเข้าของเกลือแคลเซียมทำให้กล้ามเนื้อหัวใจบีบตัวลดลง ช่วยขยายหลอดเลือด ส่งผลให้ความดันโลหิตลดลง อาการข้างเคียงของยาในกลุ่มนี้ ปวดศีรษะ, หน้าแดง (flushing) ,ข้อเท้าบวม
(ankle-edema) ,ท้องผูก
Enalapril 5 mg oral angiotensin converting enzyme inhibitors (ACE inhibitors หรือ ACEIs) มีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์แองจิโอเทนซินคอนเวอร์ติ้ง (angiotensin converting enzymes) ออกฤทธิ์ด้วยกลไกหลายอย่าง เช่น ขยายหลอดเลือด, ขับโซเดียมและน้ำออกจากร่างกาย เป็นต้น จึงส่งผลโดยรวมทำให้สามารถลดความดันโลหิตได้ อาการข้างเคียงของยาในกลุ่มนี้ อาการไอแห้งๆ เกิดผื่นที่ผิวหนัง
Doxazosin oral 2 mg Doxazosin เป็นยาในกลุ่ม Alpha-1 adrenergic agent ใช้รักษาความดันโลหิตสูงและบรรเทาอาการปัสสาวะขัด ด้วยเหตุจากภาวะต่อมลูกหมากโต มีกลไกการออกฤทธิ์ โดยตัวยาปิดกั้นส่วนที่เรียกว่าตัวรับแอลฟาวัน แอดรีโนเซ็ปเตอร์ (Alpha-1 adrenoceptors หรือ Alpha-1 adrenergic receptor) ซึ่งอยู่ในผนังหลอดเลือดส่งผลให้เกิดการขยายตัวของหลอดเลือด อาการข้างเคียงจากการใช้ยา ความดันต่ำเวลาเปลี่ยนอิริยาบถ จึงควรเปลี่ยนอิริยาบถใหม่ช้าๆ เช่น จากการนอนให้ลุกขึ้นนั่งพักสักครู่ก่อนที่จะยืน
Hydralazine oral 25 mg กลุ่มยาขับปัสสาวะ ออกฤทธิ์โดยการขับน้ำออกจากหลอดเลือด ทำให้ปริมาตรเลือดในหลอดเลือดลดลง ความดันโลหิตจึงลดลง อาจทำให้เกิดภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่ำ มีอาการอ่อนเพลีย, กล้ามเนื้ออ่อนแรง, เป็นตะคริว ,ภาวะหัวใจเต้นผิดปกติ
สาเหตุ
สาเหตุของความดันโลหิตสูงแบ่งเป็น 2 กลุ่ม (Bakris, 2014) คือ
- โรคความดันโลหิตสูงที่ไม่ทราบสาเหตุ (primary หรือ essential hypertension)/ เป็นโรคความดันโลหิตสูง
ที่พบมากที่สุด โรคความดันโลหิตสูงกลุ่มนี้ไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด
2.โรคความดันโลหิตสูงที่ทราบสาเหตุ (secondary hypertension) เป็นโรคความดันโลหิตสูงที่พบได้ประมาณ
ร้อยละ 5 ของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง สาเหตุที่พบได้บ่อยคือ โรคหลอดแดงที่ไปเลี้ยงไตตีบทั้งสองข้าง เนื้องอกที่อมหมวกไตที่สร้างฮอร์โมนแอลโดสเทอโรน (primary adosterone) และมีภาวะความดันโลหิตสูงร่วมกับระดับโพแทสเซียมในเลือดต่ำ รคเนื้องอกที่ต่อมหมวกไตที่สร้างฮอร์โมนแคทีโคลามีนสูง (pheochromocytoma) ภาวะ
คุชชิ่ง ซินโดรม (Cushing's syndrome) โรคหลอดเลือดแดงใหญ่ตีบ (coarctation of the aorta)
-
ภาวะแทรกซ้อน
1.ภาวะแทรกซ้อนเรื้อรัง ภาวะความตันโลหิตสูงที่เกิดขึ้นเป็นเวลานานจะทำให้เกิดภาวะหลอดเลือดแดงดีบและแข็ง ส่งผลทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนในระบบหัวใจ สมอง ไต และ ตา
หัวใจ เมื่อมีแรงต้านของหลอดเลือดแดงส่วนปลายสูง หัวใจทำงานหนักขึ้น ทำให้ผนังหัวใจซีกซ้ายหนาตัว
ขึ้น ผนังหัวใจจะยืดออกและเสียหน้าที่ ทำให้เกิดหัวใจโตและเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวได้ นอกจากนี้การอุดตันของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจจะทำให้กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดและตาย
สมอง ความดันโลหิตสูงจะทำให้ผนังของหลอดเลือดแดงที่ไปเลี้ยงสมองหนาขึ้น ภายในหลอดเลือดชุรชระ
และตีบแคบลง ทำให้หลอดเลือดอุดตันและขาดเลือดไปเลี้ยง หรือแรงต้านทานของหลอดเลือดที่สูงขึ้นจะทำให้ผนังหลอดเลือดบางลง เกิดภาวะหลอดเลือดในสมองตีบตันหรือแตก ทำให้เป็นอัมพาตหรือเสียชีวิตได้
ไต ความดันโลหิตสูงเป็นเวลานานทำให้ผนังของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงไตหนาและตีบแข็ง มีการเปลี่ยนแปลง
หลอดเลือดฝอย ทำให้เลือดไปเลี้ยงไตน้อยลง โกลเมอร์รูล่าและหน่วยไตถูกทำลายและตาย ทำให้การกรองของไต มีการรั่วของโปรตีนและเลือดออกมาทางปัสสาวะ เกิดไตวายเรื้อวัง และหากเกิดภาวะไตวายจะ
ทำให้ความดันโลหิตสูงขึ้น
ตา หลอดเลือดแดงฝอยที่จอตาจะเสื่อมลงช้า ๆ เกิดการตีบตันหรือแตก มีเลือดออกที่จอตาและขั้วประสาท
ตาบวม ทำให้ประสาทตาเสื่อม ตามัวลงเรื่อย ๆ จนตาบอดได้
- ภาระแทรกซ้อนเสียบพลันคือ ภาวะความดันโลหิตสูงวิกฤตแบ่งเป็นภาวะความตันโลหิตสูงฉุกเฉิน และ
ภาวะความดันโลหิตสูงเว่งด่วน (อินทนนท์ อิ่มสุวรรณ, 2556) ดังนี้
ภาวะความดันโลหิตสูงฉุกเฉิน (hypertensive emergency) หมายถึง ภาวะที่มีความดันโลหิตสูงมากจนทำให้
เกิดอันตรายต่ออวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย (TOD โดยความตันโลหิตมักสูงกว่า 220/120 มิลลิเมตรปรอท ผู้ป่วยเกิดอาการทางสมอง (hypertensive encephalopathy) ได้แก่ อาการปวดศีรษะ ระดับความรู้สึกตัวลดลง ซึม ชัก และหมดสติได้ เกิดอาการตกเลือดในสมอง หรือมีอาการเจ็บหนัาอก ใจลั่น หายใจตื้น หรืออาการของหัวใจเวนตริเศิลช้ายวายเฉียบพลัน มีภาวะเลือดเซาะผนังหลอดเลือดเอออร์ต้า หรือหลอดเลือดโคโรนารีขาดเลือดไปเลี้ยงเขียบพลันตรวจพบมีเลือดออกที่ตาและประสาทตาบวม พบการทำงานของไตเสียหน้าที่มีโปรตีนและเม็ดเลือดแดงปนกับปัสสาวะ มียูเรียคั่ง มีภาวะโลหิตจางจากม็ดเลือดแดงในหลอดเลือดฝอยแตก การตรวจร่างกายพบ เสียงหัวใจพบเสียง glop หัวใจโต หัวใจเต้นเร็ว มีภาวะน้ำท่วมปอด ความตันในสมองสูงขึ้น อาจเกิดโรคหลอดเลือดสมอง
ผู้ป่วยป็นเเบบ (hypertensive emergency) เนื่องจากมีอวัยวะเป้าหมายถูกทำลายนั่นก็คือหัวใจ และมีความดันเเรกรับอยู่ที่ 251/138 มิลฃลิเมตรปรอท
-
ภาวะความดันโลหิตสูงฉุกเฉิน (hypertensive urgency) มีความดันโลหิตตั้งแต่ 180/110 เป็นต้นไป แต่ยังไม่มีอวัยวะเป้าหมายสำคัญถูกทำลาย
เกณฑ์การวินิจฉัย
ความดันซิสโตลิก SBP (มิลลิเมตรปรอท) / ความดันไดแอสโตลิก DBP (มิลลิเมตรปรอท)
1.ความดันโลหิต ระดับ เหมาะสม (optimal) < 120 และ < 80
2.ความดันโลหิต ปกติ (normal) 120-129 และ/หรือ 80-84
3.ความดันโลหิตสูงกว่าเกณฑ์ปกติ แต่ยังไม่เป็นโรคความดันโหลิตสูง (high normal) 130-139 และ/หรือ 85-89
4.โรคความดันโลหิตสูง ระดับที่ 1 (Grade 1 HT: mild) 140-159 และ/หรือ 90-99
5.โรคความดันโลหิตสูง ระดับที่ 2 (Grade 2 HT: moderate) 160-179 และ/หรือ 100-109
6.โรคความดันโลหิตสูง ระดับที่ 3 (Grade 3 HT: severe) >/= 180 และ/หรือ >/= 100
7.ความดันโหลิตสูง ชนิดสูงเฉพาะความดันซิสโตลิก >/= 140 และ < 90
โดยหากถ้าสูงกว่าหรือเท่ากับ 140/90 มิลลิเมตรปรอท ติดต่อกัน 2 ครั้ง ห่างกัน 1 เดือน จะวินิจฉัยว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูง
-
-
Right ventricle ไม่สามารถจะบีบเลือดไปที่ปอดได้เต็มที่ทำให้เลือดย้อนกลับไปยัง Systemic circulation
ทำให้แรงดันเลือดดำทั่วร่างกายสูงขึ้น เกิดการคั่งของเลือดและน้ำในและนอกหลอดเลือดทั่วร่างกาย นอกจากนี้ความดันของหลอดเลือดในปอดสูง (Pulmonary hypertension) โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
(Chronic Obstructive Pulmonary Disease) เป็นสาเหตุทำให้เกิด Right-sided failure ที่เรียกว่าCor-pulmonale
-
บรรณานุกรม
ประทุม สร้อยวงศ์. (2560). การพยาบาลอายุรศาสตร์. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ปิยภัทร ชุณหรัศมิ์, ธีรภัทร ยิ่งชนม์เจริญ, และระพีพล กุญชร ณ อยุธยา. แนวทางเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษาผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2562 Heart Failure Council of Thailand (HFCT) 2019 Heart Failure Guideline. ห้างหุ้นส่วนจำกัด เนคสเตป ดีไซน์.
เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, และจารุกัญญ์ พริกบุญจันทร์. (2560). การพยาบาลโรคหัวใจและหลอดเลือด. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยชินวัตร.
ลิวรรณ อุนนาภิรักษ์, จันทนา รณฤทธิวิชัย, วิไลวรรณ ทองเจริญ, วีนัส ลีฬหกุล และพัสมณฑ์ คุ้มทวีพร. (2555). พยาธิสรีรวิทยาทางการพยาบาล. (พิมพ์ครั้งที่ 9). บริษัทบุญศิริการพิมพ์ จำกัด.
วิจิตรา กุสุมภ์, ธนันดา ตระการวณิชย์, ภัสพร ขำวิชา, ไพบูลย์ โชตินพรัตน์ภัทร, สุนันทา ครองยุทธ, รัตนา จารุวรรโณ, อรุณี เฮงยศมาก, ธัญญลักษณ์ วจนะวิศิษฐ, และอภิญญา กุลทะเล. (2560). การพยาบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤต: แบบองค์รวม Critical Care Nursing : A Holistic Approach. (พิมพ์ครั้งที่ 6). ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล สหประชาพาณิชย์.
สมาคมความดันโลหิตสูงในประเทศไทย thai hypertention society. http://www.thaihypertension.org/hypertensiondetail.php?n_id=296