Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Previous C/S c GDMA2 c HBsAg Positive นศพต.ธิรนันท์ ภีศเดชธนวัจน์ เลขที่…
Previous C/S c GDMA2 c HBsAg Positive
นศพต.ธิรนันท์ ภีศเดชธนวัจน์ เลขที่ 32
ข้อมูลส่วนตัว
หญิงตั้งครรภ์ อายุ 41 ปี GA 37+2 wks G2P1-0-0-1 เชื้อชาติ อินเดีย สัญชาติ เมียนมาร์ ศาสนา ฮินดู
สถานภาพ สมรส อาชีพ ลูกจ้างร้านอาหาร รายได้ 15,000 บาท
ที่อยู่ปัจจุบัน เช่า อพาร์ทเม้นชั้น3 เขตราชเทวี กทม.
สิทธิการรักษา ชำระเงินเอง (ราคาคนไทย)
วันที่รับไว้ในโรงพยาบาล 14 ธันวาคม พ.ศ.2565 เวลา 10.30 น.
น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์ 74 กก. ส่วนสูง 155 ซม. BMI 30.80 kg/m2
ปฏิเสธประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
ปฏิเสธการแพ้ยา อาหาร และสารเคมี
ปฏิเสธการใช้สารเสพติด
เคยผ่าตัดคลอดบุตร เมื่อพ.ศ.2557
พ.ศ 2557 ได้ dT. Toxoid 2 เข็ม ที่รพ.เลิศสิน พ.ศ. 2565 Tdap 1 เข็ม ที่รพ.ตร.
ปฏิเสธการเจ็บป่วยในครอบครัว
LMP : 26/4/65 x 4 วัน ประจำเดือนมาสม่ำเสมอทุกเดือน
ประวัติการตั้งครรภ์ : G1 พ.ศ.2557 C/S due to CPD เพศหญิง FT น้ำหนัก4,000 g ปัจจุบันแข็งแรงดี
G2P1-0-0-1 อายุครรภ์ (Gestational age: GA) 37+2 weeks by U/S: EDC by date 31/1/65 Set C/S TTR: 26/12/65
1 st ANC : 27/7/65 GA 13+1 weeks by date GA 17+1 weeks by U/S ร่วมกับทำ Ultrasound ครั้งแรก รวมทั้งสิ้นฝากครรภ์ที่โรงพยาบาลตำรวจทั้งหมด 16 ครั้ง
TWG = 2.2 kg
พยาธิสรีร
GDM
Hepatitis B
ภาวะที่มีการตรวจพบแอนติเจนของผิวเซลล์ไวรัสตับอักเสบ บี (HBsAg) ในเลือด ซึ่งอาจมีอาการแสดงของการติดเชื้อ หรือไม่มีอาการแสดงของการติดเชื้อก็ได้
ข้อมูลจากผลการตรวจเลือด
HBsAg : บอกถึง การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี
HBeAg : บอกถึง ความสามารถในการแบ่งตัวของไวรัสตับอักเสบบี (Viral replication)
Anti HBc : เป็นภูมิคุ้มกันที่เกิดจากการตอบสนองของร่างกายต่อไวรัสตับอักเสบบี บอกถึงการเคยติดเชื้อไวรัสบี
Anti HBc-IgM : พบในตับอักเสบเฉียบพลัน
Anti HBc-IgG : พบได้ทั้งในตับอักเสบเฉียบพลัน, เรื้อรัง หรือแม้แต่ผู้ที่ตรวจไม่พบเชื้อแล้ว
Anti HBe : จะพบหลังจากตรวจไม่พบ HBeAg ในเลือดแล้ว
Anti HBs : จะพบหลังจากตรวจไม่พบ HBsAg ในเลือดแล้ว หรือ เป็นภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี
ชนิด อาการ และอาการแสดง
1.การติดเชื้อเฉียบพลัน (acute hepatitis) อาจแสดงอาการหรือไม่ก็ได้ อาการแสดงที่พบได้บ่อย คือ มีไข้อ่อนเพลียเบื่ออาหารคลื่นไส้อาเจียน ปวดท้อง ปัสสาวะสีเข้ม อุจจาระสีซีด ปวดข้อและในรายที่มีอาการรุนแรงมีอาการตัวเหลืองตาเหลือง
ระยะเรื้อรัง จะเป็นพาหะแต่ไม่แสดงอาการ
การตรวจวินิจฉัย
การติดเชื้อตับอักเสบ บี ตรวจวินิจฉัยโดยการตรวจแอนติเจน และแอนติบอดีของไวรัสตับอักเสบบี ในเลือดเช่น HBsAg, HBeAg, anti-HBc, anti-HBe
ปัจจัยเสี่ยงต่อการติดเชื้อตับอักเสบ
ทารกที่คลอดจากมารดาที่มี HBsAg positive
การมีเพศสัมพันธ์กับผู้ที่ติดเชื้อตับอักเสบบี
การสัมผัสกับเลือด น้ำลาย สารคัดหลั่งจากร่างกายที่ปนเปื้อน เชื้อไวรัสตับอักเสบ บี
ปัจจัยที่มีผลต่อการแพร่เชื้อจากแม่ไปสู่ลูก
Viral load มีผลต่อการติดเชื้อในช่วงก่อนคลอด โดยเชื่อว่าหาก viral load > 7 log (IU/ml) หรือ >8 log (copies/ml) จะทำให้ทารกมีโอกาสติดเชื้อได้มากขึ้น
HBeAg ในหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีและตรวจพบ HBeAg positive
infant immunoprophylaxis
Threatened preterm labor or threatened abortion
วิธีการคลอด
เมื่อเชื้อตับอักเสบ บี เข้าสู่กระแสเลือด จะมีการแบ่งตัวเพิ่มจำนวนมากขึ้น และกระตุ้นให้ T lymphocyte สร้างภูมิต้านทาต่อเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี โดยจะตรวจพบแอนติบอดี ได้เป็นเวลานาน และเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี จะทำให้ผู้ที่ติดเชื้อประมาณ ร้อยละ 25 เป็นตับแข็ง (cirrhosis) มะเร็งตับได้(hepatocellular carcinoma)
ผลกระทบของการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีต่อการตั้งครรภ์
ผลต่อมารดา
ความดันโลหิตสูง
มีเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอดก่อนคลอดเกิดจากรกลอกตัวก่อนกำหนด
เพิ่มโอกาสเกิดเบาหวานขณะตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อลูก
การคลอดก่อนกำหนด
การเกิดน้ำเดินก่อนเจ็บครรภ์คลอด
การแท้ง
การตายคลอด
แรกเกิดน้ำหนักน้อย
การรักษา
ติดเชื้อตับอักเสบเรื้อรัง ต้องให้การรักษาด้วยยาต้านไวรัสเพื่อป้องกันการเป็นตับแข็งและมะเร็งตับ
ยารับประทาน เป็นยาในกลุ่ม nucleoside analog reverse transcriptase inhibitor ยับยั้งการแบ่งตัวของไวรัส
ยาฉีด เป็นยาในกลุ่ม Peg Interferon ออกฤทธิ์กระตุ้นภูมิคุ้มกันของร่างกาย
ข้อห้ามใช้ Peg Interferon คือ โรคจิตประสาท โรคซึมเศร้า โรคภูมิคุ้มกันตนเอง เช่น SLE ตับแข็งระยะท้าย และตั้งครรภ์
ระยะเฉียบพลัน รักษาแบบประคับประคอง
เช่น นอนพัก ให้ยาลดไข้ บรรเทาอาการปวดเมื่อย
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ทารกเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีขณะคลอด
มารดาวิตกกังวลต่อการมีโอกาสติดเชื้อของลูก
เสี่ยงคลอดก่อนกำหนดเนื่องจากมารดาเป็นพาหะของโรคไวรัสตับอักเสบบี
Elderly pracnancy