Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีในการสร้างเสริมสุขภาพ - Coggle Diagram
ทฤษฎีในการสร้างเสริมสุขภาพ
แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ
ปัจจัยร่วม
ปัจจัยด้านสังคมจิตวิทยา : เช่น บุคลิกภาพ กลุ่มเพื่อน มีควรมเกี่ยวข้องกับบรรทัดฐานทางสังคม
ค่านิยมวัฒนธรรม
ปัจจัยโครงสร้างพื้นฐาน : ระบบบริการสุขภาพ
ปัจจัยด้านประชากร : เพศ อายุ เชื้อชาติ ศาสนา
องค์ประกอบของแบบจาลองความเชื่อด้านสุขภาพ
การรับรู้ต่อโอกาสเสี่ยงของการเป็นโรค
การรับรู้ความรุนแรงของโรค
การรับรู้ประโยชน์ที่จะได้รับและค่าใช้จ่าย
แรงจูงใจด้านสุขภาพ
ปัจจัยร่วม
ทฤษฎีแรงสนับสนุนทางสังคม
แหล่งท่ีมาของการสนับสนุนทางสังคม
ระบบสนับสนนุด้านศาสนาหรือแหล่งอุปถัมภ์ต่างๆ
ระบบสนับสนุนจากกลุ่มเพื่อน
ระบบการสนับสนุนจากกลุ่มวิชาชีพด้านสุขภาพ
ระบบการสนับสนุนตามธรรมชาติ
ระบบการสนับสนุนจากกลุ่มวิชาชีพอื่นๆ
ประเภทของการสนับสนุนทางสังคม
การสนับสนุนด้านอารมณ์ (Emotional support)
การสนับสนุนด้านการประเมิน (Appraisal support)
การสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสาร (Information support)
การสนับสนุนด้านการเงิน แรงงานและส่ิงของ (Instrumental support)
ทฤษฎีแรงสนับสนุนทางสังคม
แนวคิดนี้มีประโยชน์มํากในการสร้างเครือข่ายเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ และการดูแลรักษาโรคเรื้อรัง
กลุ่มผู้ติดเชื้อเอดส์
กลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มส่งเสริมสุขภาพ
PRECEDE-PROCEED Model
ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์ทางสังคม
เป็นการพิจารณา และวิเคราะห์ “คุณภาพชีวิต”
จุดประสงค์ของการประเมินในระยะนี้เพื่อค้นหา ข้อมูล และประเมินปัญหา
ขั้นตอนที่ 2 การวิเคราะห์ทางระบาดวิทยา
เป็นการวิเคราะห์ว่ามีปัญหาสุขภาพที่สําคัญอะไรบ้าง
ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะห์ด้านพฤติกรรม
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ทางการศึกษา
ปัจจัยเอื้อ
ปัจจัยเสริม
ปัจจัยนำ
ขั้นตอนที่ 5 การวิเคราะห์ทางการบริหาร
ขั้นตอนที่ 6 การปฏิบัติการ
ขั้นตอนท่ี 7 การประเมินกระบวนการ
ขั้นตอนที่ 8 การประเมินผลกระทบ
ขั้นตอนที่ 9 การประเมินผลลัพธ์
แบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพ
ลักษณะเฉพาะและประสบการณ์ของบคุคล
พฤติกรรมที่เกี่ยวข้อง
ปัจจัยส่วนบุคคล
ปัจจัยด้านจิตวิทยา
ปัจจัยด้านสังคมวัฒนธรรม
ปัจจัยด้านชีววิทยา
ความคิดและอารมณ์ต่อพฤติกรรม
การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรม
การรับรู้อุปสรรคในการปฏิบัติพฤติกรรม
การรับรู้ความสามารถของตนเอง
ความรู้สึกที่มีต่อพฤติกรรม
อิทธิพลระหว่างบุคคล
อิทธิพลจากสถานการณ์
พฤติกรรมผลลัพธ์
ความจำเป็นอื่นและทางเลือกอื่นที่เกิดขึ้น
พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
ความมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติพฤติกรรม
การสร้างเสริมพลังอำนาจ
ประเภทของการสร้างเสริมพลังอำนาจ
การสร้างเสริมพลังอำนาจเชิงจิตใจ
การสร้างเสริมพลังอำนาจเชิงโครงสร้าง
ลักษณะของการสร้างเสริมพลังอำนาจ
การสร้างเสริมพลังอำนาจระดับบุคคลและระดับกลุ่ม
การสร้างเสริมพลังอํานาจภายในและภยานอก
แหล่งที่มาของอำนาจ
อํานาจที่เกิดจากการควบคุมทรัพยากรต่างๆ
อํานาจที่เกิดจากความสัมพันธ์ทางสังคม
อํานาจที่เกิดจากตําแหน่งหรือหน้าที่
อํานาจที่เกิดจากความเชี่ยวชาญ
อํานาจที่เกิดจากการมีข้อมูล
อํานาจที่เกิดจากคุณสมบัติ
ขั้นตอนของการสร้างเสริมพลังอำนาจ
critical reflection
Taking charge
discovering reality
holding
ทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
ขั้นเตรียมพร้อมที่จะปฏิบัติ
ขั้นปฏิบัติ
ขั้นชั่งใจ
ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ
ขั้นก่อนชั่งใจ
ขั้นยุติพฤติกรรมเดิมอย่างถาวร