Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีในการสร้างเสริมสุขภาพ - Coggle Diagram
ทฤษฎีในการสร้างเสริมสุขภาพ
แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ (Health Belief Model : HBM)
ปัจจัยร่วม (Modifying Factors)
ปัจจัยด้านสังคมจิตวิทยา : เช่น บุคลิกภาพ กลุ่มเพื่อน มีความเกี่ยวข้องกับบรรทัดฐานทางสังคม ค่านิยมวัฒนธรรม
ปัจจัยโครงสร้างพื้นฐาน : ระบบบริการสุขภาพ
ปัจจัยด้านประชากร : เพศ อายุ เชื้อชาติ ศาสนา
องค์ประกอบของแบบจำลองความเชื่อด้านสุขภาพ
การรับรู้ของผู้ป่วย : ความเชื่อต่อความถูกต้องของการวินิจฉัยโรคของแพทย์
การรับรู้ความรุนแรงของโรค : การก่อให้เกิดพิการ เสียชีวิต ความยากลําบากและการต้องใช้ระยะเวลานานในการรักษา การเกิดโรคแทรกซ้อน
การรับรู้ประโยชน์ที่จะได้รับและค่าใช้จ่าย: การที่บุคคลแสวงหาวิธีการปฏิบัติให้หายจากโรคหรือป้องกันไม่ให้เกิดโรค
แรงจูงใจด้านสุขภาพ: ความเชื่อต่อโอกาส เสี่ยงของการเป็นโรค ความเชื่อต่อความรุนแรงของโรค
ปัจจัยร่วม: ปัจจัยที่มีส่วนช่วยส่งเสริมหรือเป็นอุปสรรคต่อการที่บุคคลจะปฏิบัติเพื่อการป้องกันโรค
การประยุกต์ใช้แบบจาลองความเชื่อด้านสุขภาพ
การรับรความรุนแรงของโรค : วิเคราะห์ผลเสียที่เกิดจากความผิดปกติหรือความเจ็บป่วยในทุกๆด้าน
การรับรสต่อโอกาสเสี่ยงของการเป็นโรค:ประเมินความเสี่ยง (การคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มะเร็งปากมดลูก)
การรับรู้อุปสรรค: แก้ไขข้อมูลหรือความเข้าใจผิด จูงใจและให้ความช่วยเหลือ
การรับการรับรู้ประโยชน์ที่จะได้รับและค่าใช้จ่าย:ร่วมกันปฏิบัติให้ชัดเจน
ปัจจัยกระตุ้นการปฏิบัติ:กระตุ้นการตระหนักรู้,ติดตามให้ความช่วยเหลือ
PRECEDE-PROCEED Model
เป็นเครื่องมือสําคัญของนักสุขศึกษาที่นํามา ประยุกต์ใช้วางแผน และประเมินผลโครงการส่งเสริมสุขภาพ และสุขศึกษา
ได้รับการพัฒนาขึ้นมาโดย นักพฤติกรรมศาสตร์และนักสุขศึกษา 2 ท่าน คือ Lawrence W. Green และ Matthew W. Krueter
PRECEDE
P: Predisposing (แรงจูงใจ)
R: Reinforcing (ทำให้แข็งแกร่งขึ้น)
E: Enabling (ทำให้เป็นไปได้)
C: Causes (ทำให้เกิด)
E: Evaluation (การประเมินผล)
D: Diagnosis (การหาสาเหตุ)
E: Educational (การศึกษา)
ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์ทางสังคม (Phase1 : Social Assessment)
เป็นการพิจารณา และวิเคราะห์ “คุณภาพชีวิต” ซึ่งถือว่าเป็นขั้นตอนแรกของการวิเคราะห์โดย การประเมินสิ่งที่เกี่ยวข้อง หรือตัวกําหนดคุณภาพชีวิตของประชากรกลุ่มเป้าหมายต่างๆ
ขั้นตอนที่ 2 การวิเคราะห์ทางระบาดวิทยา (Phase 2 : Epidemiological Assessment)
ปัญหาสุขภาพที่สําคัญอะไรบ้าง ข้อมูลทางระบาดวิทยาจะชี้ให้เห็นถึงการ เจ็บป่วยการเกิดโรค และภาวะสุขภาพ ตลอดจนปัจจัยต่างๆ
ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะห์ด้านพฤติกรรม (Phase 3 : Behavioral Assessment)
ปัญหาด้านสุขภาพอนามัยที่ได้ในขั้นตอนที่ 1-2 จะนํามาวิเคราะห์ต่อเพื่อหาสาเหตุที่เกี่ยวข้อง
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ทางการศึกษา (Phase 4 : Educational Assessment)
ปัจจัยเอื้อ (Enabling Factors) หมายถึง คุณลักษณะของสิ่งแวดล้อม ทั้งด้านกายภาพและ สังคมวัฒนธรรม
ปัจจัยเสริม (Reinforcing Factors) หมายถึง สิ่งที่บุคคลจะได้รับ หรือคาดว่าจะได้รับจําก บุคคลอื่น
ปัจจัยนา (Predisposing Factors) หมายถึง ปัจจัยที่เป็นพื้นฐาน และก่อให้เกิดแรงจูงใจใน การแสดงพฤติกรรมของบุคคล เช่น ความรู้ ความเชื่อ ค่านิยม ทัศนคติ
ขั้นตอนที่ 5 การวิเคราะห์ทางการบริหาร (Phase 5 : Administrative and Policy Assessment)
เป็นการประเมินความสามารถของการบริหาร และนโยบายของการจัดการโครงการส่งเสริม สุขภาพ
ขั้นตอนที่ 6 การปฏิบัติการ (Phase 6 : Implementation)
ดําเนินงานตามกลวิธี วิธีการและกิจกรรม โดยผู้รับผิดชอบในแต่ละเรื่องและประเด็น ที่กําหนด ไว้ตามตารางการปฏิบัติกิจกรรม
ขั้นตอนที่ 7 การประเมินกระบวนการ (Phase 7 : Process Evaluation)
เพื่อประเมินถึงปัจจัยด้านการบริหารจัดการ ที่จะมีผลต่อการดําเนินโครงการท่ีได้วางแผนไว้
ขั้นตอนที่ 8 การประเมินผลกระทบ (Phase 8 : Impact Evaluation)
การประเมินผลลัพธ์ที่เกิดจากการดําเนินโครงการในระยะสั้น
ขั้นตอนที่ 9 การประเมินผลลัพธ์ (Phase 9 : Outcome Evaluation)
เป็นการประเมินผลรวบยอดของวัตถุประสงค์ท่ีมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นและประโยชน์ที่ได้รับ ด้านสุขภาพหรือคุณภาพชีวิต
แบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพ (Health Promotion Model : HPM)
ในปี ค .ศ.1975 เพนเดอร์ (Pender) ได้พัฒนาแบบจําลองการป้องกันสุขภาพที่ กล่าวถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการตัดสินใจและการปฏิบัติของปัจเจกบุคคลในการ ป้องกันโรค
ข้อตกลงเบื้องต้นของแบบจำลอ
1.บุคคลแสวงหาภาวการณ์ของชีวิตที่สร้างสรรค์โดยการแสดงความสามารถด้านสุขภาพที่มีเอกลักษณเ์ฉพาะตน
บุคคลมีความสามารถในการสะท้อนการตระหนักรู้ในตนเอง
บุคคลให้คุณค่าแก่การเจริญเติบโตในทิศทางบวกและพยายามที่จะบรรลุความสําเร็จ
บุคคลแสวงหาการควบคุมพฤติกรรมของตนเอง
บุคคลซึ่งประกอบด้วยกาย จิต สังคม มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม รวมทั้งมีการเปลี่ยนแปลง สิ่งแวดล้อมและความเป็นอยู่อย่างต่อเนื่อง
บุคลากรด้านสุขภาพเป็นส่วนหนึ่งของสิ่งแวดล้อมระหว่างบุคคลที่มีอิทธิพลต่อ บุคคลตลอดช่วง ชีวิต
การริเริ่มด้วยตนเองในการสร้างแบบแผนความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับสิ่งแวดล้อม
สาระของทฤษฎี
แบบจําลองการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ มีพื้นฐานมาจากแนวคิดด้านการคิดรู้ ซึ่งประกอบด้วยความคาดหวังต่อผลลัพธ์ของการปฏิบัติพฤติกรรม (Outcome expectancies
มโนทัศน์หลักของแบบจำลอง
1.ลักษณะเฉพาะและประสบการณ์ของบุคคล(IndividualCharacteristicsandExperiences)
1.1 พฤติกรรมที่เกี่ยวข้อง (Prior related behavior) พฤติกรรมที่เคยปฏิบัติในอดีตมีอิทธิพล โดยตรงต่อการปฏิบัติพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ เนื่องจากพฤติกรรมที่เคยปฏิบัติมานั้นได้กลายเป็น นิสัย (habit formation) และบุคคลปฏิบัติพฤติกรรมนั้นได้โดยอัตโนมัต
1.2 ปัจจัยส่วนบุคคล (Personal Factors)
1.ปัจจัยด้านชีววิทยา ได้แก่ อายุ ดัชนีมวลกาย สภาวะวัยรุ่น สภาวะหมดระดู ความจุปอด ความแข็งแรงของร่างกาย ความกระฉับกระเฉง และความสมดุลของร่างกาย
ปัจจัยด้านจิตวิทยา ได้แก่ ความมีคุณค่าในตนเอง แรงจูงใจในตนเอง การรับรู้ภาวะ สุขภาพของตนเอง
ปัจจัยด้านสังคมวัฒนธรรม ได้แก่ สัญชาติ วัฒนธรรม การศึกษา และสถานะทางสังคม เศรษฐกิจ
ความคิดและอารมณ์ต่อพฤติกรรม (Behavior-Specific Cognition and Affect) ประกอบด้วยมโนทัศน์ย่อยทั้งหมด 5 มโนทัศน์ ดังนี้
2.3 การรับรู้ความสามารถของตนเอง (PerceivedSelf-Ef ficacy) หมายถึง ความเชื่อมั่นของบุคคลเกี่ยวกับความสามารถของตนเองในการบริหารจัดการ
2.4 ความรู้สึกที่มีต่อพฤติกรรม (Activity-Related Affect) หมายถึง ความรู้สึกใน ทางบวกหรือลบที่เกิดขึ้นก่อน ระหว่าง และหลังการปฏิบัติพฤติกรรม
2.2 การรับรู้อุปสรรคในการปฏิบัติพฤติกรรม (Perceived Barriers to Action) อุปสรรคภายในและภายนอกของบุคคล อุปสรรคภายใน ได้แก่ ความขี้เกียจ ความไม่รู้ ไม่มีเวลํา ไม่พึงพอใจ อุปสรรคภํายนอก ได้แก่ สถานภาพทางเศรษฐกิจ ขาดแคลนสิ่งเอื้ออํานวยในกําร ปฏิบัติพฤติกรรม เช่น ค่าใช้จ่ายสูง การรับรู้ว่ายาก สภาพอากาศ และความไม่สะดวก
2.5 อิทธิพลระหว่างบุคคล (Interpersonal Influences) หมายถึง พฤติกรรมความเชื่อ หรือทัศนคติของคน อื่นที่มีอิทธิพลต่อความคิดของบุคคล
2.1 การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรม (Perceived Benefits of Action) เกิดแรงจูงใจในกํารปฏิบัติพฤติกรรมนั้น บุคคลจะปฏิบัติพฤติกรรมตามประสบการณ์ในอดีตที่พบว่าพฤติกรรมนั้นให้ผลทางบวกต่อตนเอง
พฤติกรรมผลลัพธ์ (Behavioral Outcome)
3.1 ความมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติพฤติกรรม (Commitment to a Plan of Actions) เป็นกระบวนการคิดรู้ ที่ประกอบด้วยความตั้งใจที่จริงจังที่จะกระทํา พฤติกรรมซึ่งสอดคล้องกับเวลา บุคคล สถานที่
3.2 ความจาเป็นอื่นและทางเลือกอื่นที่เกิดขึ้น (Immediate Competing Demands and Preferences) หมายถึง พฤติกรรมอื่นที่เกิดขึ้นทันทีทันใดก่อนที่จะเกิดพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพตามที่วางแผนไว้
3.3 พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ (Health-Promoting Behavior) พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
เป็นจุดสุดท้ายและผลจากการปฏิบัติพฤติกรรมในแบบจําลองส่งเสริมสุขภาพ
ทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
Trans theoretical Model Stage of Change : TTM
หลักกระบวนการช่วยเปลี่ยนแปลง Process of Change
การปลดปล่อยสังคม (social liberation)
เทคนิคนี้เหมาะสำหรับผู้ที่อยู่ในขั้นปฏิบัติ (Action) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้น คงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
ให้เรียนรู้สิ่งตรงกันข้าม (counterconditioning)
เทคนิคนี้เหมาะสำหรับผู้ที่อยู่ในขั้นปฏิบัติ (Action) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
การใคร่ครวญผลต่อตนเอง (self reevaluation)
เทคนิคนี้เหมาะสำหรับผู้ที่อยู่ในขั้นชั่งใจ (Contemplation stage) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นเตรียมพรอ้มที่จะปฏิบัติ(Preparationstage /Determination)
บังคับให้ทำสิ่งที่ดีกว่าทางอ้อม (stimulus control)
เทคนิคนี้เหมาะสำหรับผู้ที่อยู่ในขั้นปฏิบัติ (Action) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้น คงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
การใคร่ครวญผลต่อสังคมรอบข้าง (social reevaluation)
เทคนิคนี้เหมาะสำหรับผู้ที่อยู่ในขั้นก่อนชั่งใจ (Pre-contemplation stage) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นชั่งใจ (Contemplation stage)
กัลยาณมิตร (helping relationship)
เทคนิคนี้เหมาะสำหรับผู้ที่อยู่ในขั้นปฏิบัติ (Action) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
การระบายความรู้สึก (Dramatic relief)
เทคนิคนี้เหมาะสำหรับผู้ที่อยู่ในขั้นก่อนชั่งใจ (Pre-contemplation stage) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นชั่งใจ (Contemplation stage)
จงใจใช้แผนกระตุ้น (contingency management)
เทคนิคนี้เหมาะสำหรับผู้ที่อยู่ในขั้นปฏิบัติ (Action) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
การปลุกจิตสำนึก(consciousness raising)
เทคนิคนี้เหมาะสำหรับผู้ที่อยู่ในขั้นก่อนชั่งใจ (Pre-contemplation stage) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นชั่งใจ (Contemplation stage)