Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 ทฤษฎีในการสร้างเสริมสุขภาพ - Coggle Diagram
บทที่ 2 ทฤษฎีในการสร้างเสริมสุขภาพ
แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ
(Health Belief Model : HBM)
แนวคิด
การรับรู้ของบุคคล เป็นตัวบ่งชี้พฤติกรรมโดยบุคคลจะกระทําหรือเข้าใกล้กับสิ่งที่ตนพอใจและคิดว่าสิ่งนั้นจะก่อให้เกิดผลดีแก่ตนและจะหนีห่างจากสิ่งที่ตนไม่ปรารถนา
ปัจจัยร่วม (Modifying Factors)
เป็นปัจจัยที่ไม่มีผลโดยตรงต่อพฤติกรรมสุขภาพ แต่เป็นปัจจัยพื้นฐานที่จะส่งผลไปถึงการรับรู้และ การปฏิบัติ
ปัจจัยด้านประชากร
เพศ อายุ เชื้อชาติ ศาสนา
ปัจจัยด้านสังคมจิตวิทยา
บุคลิกภาพ กลุ่มเพื่อน
มีความเกี่ยวข้องกับบรรทัดฐานทางสังคม
ค่านิยม วัฒนธรรม
ปัจจัยโครงสร้างพื้นฐาน
ระบบบริการสุขภาพ
องค์ประกอบของแบบจําลองความเชื่อด้านสุขภาพ
1.การรับรู้ต่อโอกาสเสี่ยงของการเป็นโรค
ความเชื่อหรือการคาดคะเนว่า ตนมีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรคหรือปัญหาสุขภาพนั้นมากน้อยเพียงใด
2.การรับรู้ความรุนแรงของโรค
ความเชื่อที่บุคคลเป็นผู้ประเมินเองในด้านความรุนแรงของโรค
ที่มีต่อร่างกาย การก่อให้เกิดพิการเสียชีวิต
3.การรับรู้ประโยชน์ที่จะได้รับและค่าใช้จ่าย
การที่บุคคลแสวงหาวิธีการปฏิบัติให้หายจากโรคหรือป้องกันไม่ให้เกิดโรค โดยการปฏิบัตินั้นต้องมี ความเชื่อว่าเป็นการกระทาที่ดีมีประโยชน์และเหมาะสมที่จะทาให้หายหรือไม่
แรงจูงใจด้านสุขภาพ
ระดับความสนใจและความห่วงใยเกี่ยวกับสุขภาพ ความปรารถนาที่จะดํารงรักษาสุขภาพและการ หลีกเลี่ยงจากการเจ็บป่วย
ปัจจัยร่วม
ปัจจัยที่มีส่วนช่วยส่งเสริมหรือเป็นอุปสรรคต่อการที่บุคคลจะปฏิบัติเพื่อการป้องกันโรค หรือการปฏิบัติตามคําแนะนาในการรักษาโรค
ทฤษฎีแรงสนับสนุนทางสังคม
(Social Support Theory)
บุคคลได้รับการช่วยเหลือจากการปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่นในสังคม ทั้งด้านอารมณ์ ด้านข้อมูล
ข่าวสาร ด้านการเงิน แรงงาน หรือวัตถุสิ่งของต่างๆ
อาจเป็นสมาชิก ในครอบครัว ญาติพี่น้อง เพื่อน
แหล่งที่มาของการสนับสนุนทางสังคม
1.ระบบการสนับสนุนตามธรรมชาติ
2.ระบบสนับสนุนจากกลุ่มเพื่อน
3.ระบบสนับสนุนด้านศาสนาหรือแหล่งอุปถัมภ์ต่างๆ
4.ระบบการสนับสนุนจากกลุ่มวิชาชีพอื่นๆ
ระบบการสนับสนุนจากกลุ่มวิชาชีพด้านสุขภาพ
ประเภทการสนับสนุนทางสังคม
1.การสนับสนุนด้านอารมณ์
การสนับสนุนด้านการประเมิน
3.การสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสาร
4.การสนับสนุนด้านการเงินแรงงานและสิ่งของ
PRECEDE-PROCEED Model
ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์ทางสังคม (Phase1 : Social Assessment)
ขั้นตอนที่ 2 การวิเคราะห์ทางระบาดวิทยา (Phase 2 : Epidemiological Assessment)
ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะห์ด้านพฤติกรรม (Phase 3 : Behavioral Assessment)
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ทางการศึกษา (Phase 4 : Educational Assessment)
ขั้นตอนที่ 5 การวิเคราะห์ทางการบริหาร (Phase 5 : Administrative and Policy Assessment)
ขั้นตอนที่ 6 การปฏิบัติการ (Phase 6 : Implementation)
ขั้นตอนท่ี 7 การประเมินกระบวนการ (Phase 7 : Process Evaluation)
ขั้นตอนที่ 8 การประเมินผลกระทบ (Phase 8 : Impact Evaluation)
ขั้นตอนที่ 9 การประเมินผลลัพธ์ (Phase 9 : Outcome Evaluation)
แบบจําลองการส่งเสริมสุขภาพ (Health Promotion Model :HPM)
มโนทัศน์หลักของแบบจําลอง
ลักษณะเฉพาะและประสบการณ์ของบุคคล
2.ความคิดและอารมณ์ต่อพฤติกรรม
2.1 การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรม
2.4 ความรู้สึกที่มีต่อพฤติกรรม
2.5 อิทธิพลระหว่างบุคคล
2.6 อิทธิพลจากสถานการณ
2.2 การรับรู้อุปสรรคในการปฏิบัติพฤติกรรม
2.3 การรับรู้ความสามารถของตนเอง
พฤติกรรมผลลัพธ์ (Behavioral Outcome)
3.1 ความมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติพฤติกรรม
3.2 ความจาเป็นอื่นและทางเลือกอื่นที่เกิดขึ้น
3.3 พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
ประเภทของการสร้างเสริมพลังอานาจ
เกี่ยวข้องกับการสร้างแรงจูงใจแก่บุคคล
ให้เกิดการรู้คิดใน 4 คุณลักษณะ
ความหมาย (Meaning) มีความสอดคล้องกันระหว่าง
ความเชื่อ ค่านิยม และการกระทํา
สมรรถนะ (Competence) เป็นความมั่นใจที่จะปฏิบัติพฤติกรรมนั้นได้สําเร็จเรียกว่า การรับรู้ความสามารถของตนเอง (Self-efficacy)
ตัดสินใจด้วยตัวเอง (Self-determination)
สามารถควบคุมงานที่รับผิดชอบหรือกิจกรรมนั้นได้
ผลกระทบ (Impact) คือ การมีอิทธิต่อผลลัพธ์ที่คาดหวัง
การสร้างเสริมพลังอานาจเชิงโครงสร้าง (Structural Empowerment)
1.การสร้างเสริมพลังอำนาจเชิงจิตใจ
(Psychological Empowerment)
ทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
Trans theoretical Model Stage of Change : TTM
ขั้นก่อนชั่งใจ (Pre-contemplation stage)
ขั้นชั่งใจ (Contemplation stage)
ขั้นปฏิบัติ (Action stage)
ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
ขั้นเตรียมพร้อมที่จะปฏิบัติ
(Preparation stage / Determination)
ขั้นยุติพฤติกรรมเดิมอย่างถาวร (Termination