Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีในการสร้างเสริมสุขภาพ - Coggle Diagram
ทฤษฎีในการสร้างเสริมสุขภาพ
แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ (Health Belief Model : HBM)
ปัจจัยร่วม (Modifying Factors)
ปัจจัยด้านสังคมจิตวิทยา : เช่น บุคลิกภาพ กลุ่มเพื่อน มีความเกี่ยวข้องกับบรรทัดฐานทางสังคม
ค่านิยมวัฒนธรรมซึ่งเป็นพื้นฐานทําใหเ้กิดการปฏิบัติเพื่อป้องกันโรคที่แตกต่างกัน
ปัจจัยโครงสร้างพื้นฐาน : ระบบบริการสุขภาพ
ปัจจัยด้านประชากร : เพศ อายุ เชื้อชาติ ศาสนา
องค์ประกอบของแบบจำลองความเชื่อด้านสุขภาพ
การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเป็นโรค
การรับรู้ความรุนแรงของโรค
การรับรู้ประโยชน์ที่จะได้รับและค่าใช้จ่าย
แรงจูงใจด้านสุขภาพ
ปัจจัยร่วม
การนำเอาแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพมาใช้ในการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมพฤติกรรม ป้องกันโรค
2
ทฤษฎีแรงสนับสนุนทางสังคม (Social Support Theory)
ระดับสนับสนุนจากกลุ่มเพื่อน>>ได้รับจากบุคคลซึ่งมีประสบการณ์มีความชำนาญในการที่จะค้นคว้าหาความต้องการและสามารถติดต่อชักจูงผู้ป่วยได้ง่าย
ระบบสนับสนุนด้านศาสนาหรือเล่นอุปถัมภ์ต่างๆ>>เป็นแหล่งที่จะช่วยให้ผู้ป่วยได้มีการแลกเปลี่ยนความเชื่อค่านิยมคำสอน
ระบบการสนับสนุนตามธรรมชาติ>>จากครอบครัวญาติพี่น้องซึ่งถือว่ามีความสำคัญมากที่สุดต่อผู้ป่วย
การสนับสนุนจากกลุ่มวิชาชีพด้านสุขภาพ>>เป็นแหล่งสการสนับสนุนเป็นแห่งแรกที่ให้การช่วยเหลือผู้ป่วยเช่นแพทย์พยาบาลเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
ระบบการสนับสนุนจากกลุ่มวิชาชีพอื่นๆ>>เป็นการสนับสนุนจากกลุ่มบริการอาสาสมัคร
แบบจาลองการส่งเสริมสุขภาพ(Health Promotion Model : HPM)
ข้อตกลงเบื้องต้นของแบบ
บุคคลให้คุณค่าแก่การเจริญเติบโตในทิศทางบวก
บุคคลแสวงหาการควบคุมพฤติกรรมของตนเอง
บุคคลมีความสามารถในการสะท้อนการตระหนักรู้ในตนเอง
บุคคนด้านสุขภาพเป็นส่วนหนึ่งของสิ่งแวดล้อมระหว่างบุคคล
บุบุคคลแสวงหาภาวการของชีวิตที่สร้างสรรค์
บุคคลซึ่งประกอบด้วยกายจิตสังคมจิตวิญญาณ
การริเริ่มด้วยตนเองในการสร้างแบบแผนความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
มโนทัศน์หลักของแบบจำลอง
พฤติกรรมผลลัพธ์
ความจำเป็นเรื่องอื่นทางเลือกอื่นที่จะเกิน
พฤติกรรมส่งเสริม สุขภาพ
ความมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติพฤติกรรม
ความคิดและอารมณ์ต่อพฤติกรรมว
การรับรู้อุปสรรคในการปฏิบัติ
การรับรู้ความสามารถของตนเอง
ความรู้สึกที่มีต่อ พฤติกรรม
การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติ
อิทธิพลระหว่างบุคคล
อิทธิพลจากสถานการณ์
ลักษณะเฉพาะและประสบการณ์ของบุคคล
ปัจจัยด้านชีวะ
อายุดัชนีมวลกายภาวะวัยรุ่น
ปัจจัยด้านสังคมวัฒนธรรม
สัญชาติ วัฒนธรรม การศึกษา
ปัจจัยด้านจิตวิทยา
ความมีคุณค่าในตนเองแรงจูงใจในตัว
การส่งเสริมพลังอำนาจ(Empowerment)
คำนึงถึงผลกระทบต่อสุขภาพของตนเอง
การเกิดโรคภัยไข้เจ็บหรือปัญหาด้านสุขภาพองรวมที่ร้ายแรงที่อาจจะเกิดตามมาจากการใช้ชีวิต
กลไกที่ถือได้ว่าเป็นหัวใจของแนวทางซึ่งหมายถึงสร้างนำซ่อมการให้ความสำคัญกับการสร้างการความแข็งแรงทางด้านสุขภาพ
ทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
Trans theoretical Model Stage of Change : TTM
มีทั้งหมด 6 ขั้นตอน
ขั้นปฏิบัติ (Action stage)
ขั้นเตรียมพร้อมที่จะปฏิบัติ (Preparation stage / Determination)
2.ขั้นชั่งใจ (Contemplation stage)
ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
ขั้นก่อนชั่งใจ (Pre-contemplation stage)
ขั้นยุติพฤติกรรมเดิมอย่างถาวร (Termination)
หลักกระบวนการช่วยเปลลี่แปลง Process of Change
บังคับให้ทำสิ่งที่ดีกว่าทางอ้อม (stimulus control)
เทคนิคนี้เหมาะสาหรับผู้ที่อยู่ในขั้นปฏิบัติ (Action) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้น คงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
การปลดปล่อยตนเอง (self liberation)
เทคนิคนี้เหมาะสาหรับผู้ที่อยู่ในขั้นเตรียมพร้อมที่จะปฏิบัติ (Preparation stage / Determination) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นปฏิบัติ (Action)
ให้เรียนรู้สิ่งตรงกันข้าม (counterconditioning)
เทคนิคนี้เหมาะสาหรับผู้ที่อยู่ในขั้นปฏิบัติ (Action) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
การใคร่ครวญผลต่อตนเอง (self reevaluation)
เทคนิคนี้เหมาะสาหรับผู้ที่อยู่ในขั้นชั่งใจ (Contemplation stage) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นเตรียมพรอ้มที่จะปฏิบัติ(Preparationstage /Determination)
จงใจใช้แผนกระตุ้น (contingency management)
เทคนิคนี้เหมาะสาหรับผู้ที่อยู่ในขั้นปฏิบัติ (Action) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
การระบายความรู้สึก (Dramatic relief)
เทคนิคนี้เหมาะสาหรับผู้ที่อยู่ในขั้นก่อนชั่งใจ (Pre-contemplation stage) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นชั่งใจ (Contemplation stage)
กัลยาณมิตร (helping relationship)
เทคนิคนี้เหมาะสาหรับผู้ที่อยู่ในขั้นปฏิบัติ (Action) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
การปลุกจิตสานึก(consciousness raising)
เทคนิคนี้เหมาะสาหรับผู้ที่อยู่ในขั้นก่อนชั่งใจ (Pre-contemplation stage) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นชั่งใจ (Contemplation stage)
การปลดปล่อยสังคม (social liberation)
เทคนิคนี้เหมาะสาหรับผู้ที่อยู่ในขั้นปฏิบัติ (Action) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้น คงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
การใคร่ครวญผลต่อสังคมรอบข้าง (social reevaluation)
เทคนิคนี้เหมาะสาหรับผู้ที่อยู่ในขั้นก่อนชั่งใจ (Pre-contemplation stage) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นชั่งใจ (Contemplation stage)