Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีในการส่งเสริมสุขภาพ, A6480112 นายภานุวัฒน์ คำมุงคุณ - Coggle Diagram
ทฤษฎีในการส่งเสริมสุขภาพ
แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ (Health Belief Model : HBM)
การนำเอาความเชื่อด้านสุขภาพมาใช้การจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมป้องกันโรค เช่น การตรวจเต้านมตัวเอง การใช้ถุงยางอนามัย
องค์ประกอบเเบบจำลองความเชื่อด้านสุขภาพ
3.การรับรู้ประโยชน์ที่จะได้รับเเละค่าใช้จ่าย
การแสวงหาวิธีการปฏิบัติให้หายจากโรคหรือป้องกันไม่ให้เกิดโรค
4.เเรงจูงใจด้านสุขภาพ
ระดับความสนใจเเละความห่วงใยเกี่ยวกับสุขภาพ
2.การรับรู้ความรุนแรงของโรค
ความเชื่อในการประเมินเองในด้านความรุนแรงของโรคที่มีผลต่อร่างกาย
5.ปัจจัยร่วม
ปัจจัยที่มีส่วนส่งเสริมหรือเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติเพื่อป้องกันโรค
1.การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเป็นโรค
การคาดคะเนว่าตนมีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรคหรือปัญหาสุขภาพ
การวิเคราะห์สาเหตุการเกิดพฤติกรรม ตามกรอบแนวคิด PRECEDE - PROCEED
เป็นกรอบในการวางเเผนสุขศึกษาเเละการมีส่วนร่วมของกลุ่มเป้าหมายที่จำนำไปสู่การมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์
PRECEDE-PROCEED Model
C: Causes (ทำให้เกิด)
E: Educational (การศึกษา)
E: Enabling (ทำให้เป็นไปได้)
E: Evaluation (การประเมินผล)
R: Reinforcing (ทำให้แข็งแกร่งขึ้น)
D: Diagnosis (การหาสาเหตุ)
P: Predisposing (แรงจูงใจ)
PROCEED เป็นคําย่อมําจําก Policy, Regulatory, and Organizational, Constructs, in Educational and Environmental, Development
หมายถึง นโยบาย กฏระเบียบ โครงสร้างของในการพัฒนาการศึกษาและสิ่งเเวดล้อม
ขั้นตอน
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ทางการศึกษา (Phase 4 : Educational Assessment)
ปัจจัยเอื้อ (Enabling Factors)
ปัจจัยเสริม (Reinforcing Factors)
ปัจจัยนำ(Predisposing Factors)
ขั้นตอนที่ 5 การวิเคราะห์ทางการบริหาร (Phase 5 : Administrative and Policy Assessment)
ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะห์ด้านพฤติกรรม (Phase 3 : Behavioral Assessment)
ขั้นตอนที่ 6 การปฏิบัติการ (Phase 6 : Implementation)
ขั้นตอนที่ 2 การวิเคราะห์ทางระบาดวิทยา (Phase 2 : Epidemiological Assessment)
ขั้นตอนที่ 7 การประเมินกระบวนการ (Phase 7 : Process Evaluation)
ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์ทางสังคม (Phase1 : Social Assessment)
ขั้นตอนที่ 8 การประเมินผลกระทบ (Phase 8 : Impact Evaluation)
ขั้นตอนที่ 9 การประเมินผลลัพธ์ (Phase 9 : Outcome Evaluation)
แบบจาลองการส่งเสริมสุขภาพ (Health Promotion Model : HPM)
การส่งเสริมสุขภาพเเต่ละบุคคลมีเหตุผลผลต่างกัน พยาบาลควรแนะนำให้เหมาะสมสำหรับเเต่ละบุคคล
มโนทัศน์หลักของเเบบจำลอง
ความคิดและอารมณ์ต่อพฤติกรรม (Behavior-Specific Cognition and Affect)
2.3 การรับรู้ความสามารถของตนเอง (PerceivedSelf-Ef ficacy)
2.4 ความรู้สึกที่มีต่อพฤติกรรม (Activity-Related Affect)
2.2 การรับรู้อุปสรรคในการปฏิบัติพฤติกรรม (Perceived Barriers to Action)
2.5 อิทธิพลระหว่างบุคคล (Interpersonal Influences)
2.1 การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรม (Perceived Benefits of Action)
2.6 อิทธิพลจากสถานการณ์ (Situational Influences)
พฤติกรรมผลลัพธ์ (Behavioral Outcome)
3.2 ความจาเป็นอื่นและทางเลือกอื่นที่เกิดขึ้น (Immediate Competing Demands and Preferences)
3.3 พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ (Health-Promoting Behavior)
3.1 ความมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติพฤติกรรม (Commitment to a Plan of Actions)
1.ลักษณะเฉพาะและประสบการณ์ของบคุคล(IndividualCharacteristicsandExperiences)
1.1 พฤติกรรมที่เกี่ยวข้อง (Prior related behavior)
1.2 ปัจจัยส่วนบุคคล (Personal Factors)
ปัจจัยด้านจิตวิทยา
ปัจจัยด้านสังคมวัฒนธรรม
ปัจจัยด้านชีววิทยา
ทฤษฎีแรงสนับสนุนทางสังคม (Social Support Theory)
มีประโยชน์มากในการสร้างเครือข่ายเพื่อการส่งเสริมสุขภาพและรักษาโรคเรื้อรัง การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร การให้กำลังใจ
กลุ่มผู้ติดเชื้อเอดส์ กลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มส่งเสริมสุขภาพเช่น กลุ่มเเอร์โรบิค วิ่ง จักรยาน ปฏิบัติธรรม
เเหล่งที่มาของการสนับสนุนทางสังคม
3.ระบบสนับสนุนด้านศาสนาหรือเเหล่งอุปถัมภ์ต่างๆ
การแลกเปลี่ยนความเชื่อ ค่านิยม คำสอน คำเเนะนำ
4.ระบบการสนับสนุนจากกลุ่มวิชาชีพด้านสุขภาพ
เเพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุข
2.ระบบสนับสนุนจากกลุ่มเพื่อน
ได้รับจากบุคคลซึ่งมีประสบการณ์ มีความชำนาญเเละสามารถจูงใจผู้ป่วยโดยง่าย
5.ระบบการสนับสนุนจากกลุ่มวิชาชีพอื่นๆ
1.ระบบการสนับสนุนตามธรรมชาติ
จากครอบครัว ญาติพี่น้อง
ประเภทของการสนับสนุนทางสังคม
2.การสนับสนุนด้านการประเมิน
3.การสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสาร
1.การสนับสนุนด้านอารมณ์
4.การสนับสนุนด้านการเงิน เเรงงานเเละสิ่งของ
การสร้างเสริมพลังอานาจ (Empowerment)
กระบวนการที่จะช่วยให้บุคคลตระหนัก ค้นคว้าหาความสามารถอยู่ในตนเอง
ประเภทของการสร้างเสริมพลังอำนาจ
การสร้างเสริมพลังอานาจเชิงจิตใจ (Psychological Empowerment)
การสร้างเสริมพลังอานาจเชิงโครงสร้าง (Structural Empowerment)
ขั้นตอนของการสร้างเสริมพลังอำนาจ
4.holding มั่นใจที่จะควบคุมสถานการณ์
Taking charge ดำเนินการตัดสินใจเลือกวิธีการปฏิบัติที่เหมาะสม เรียนรู้ จัดการ ปกป้องสิทธิ
critical reflection การพิจารณาไตร่ตรอง สะท้อนคิดอย่างมีวิจารณญาณ
discovering reality การค้นพบความจริง
ทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
Trans theoretical Model Stage of Change : TTM
ขั้นเตรียมพร้อมที่จะปฏิบัติ (Preparation stage / Determination)
ขั้นปฏิบัติ (Action stage)
ขั้นชั่งใจ (Contemplation stage)
ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
ขั้นก่อนชั่งใจ (Pre-contemplation stage)
ขั้นยุติพฤติกรรมเดิมอย่างถาวร (Termination)
A6480112 นายภานุวัฒน์ คำมุงคุณ