Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีในการสร้างเสริมสุขภาพ, A6480121 นางสาวสโรรักษ์ โชคประกาศิต - Coggle…
ทฤษฎีในการสร้างเสริมสุขภาพ
แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ
(Health Belief Model : HBM)
แนวคิด
การรับรู้ของบุคคล
บ่งชี้พฤติกรรม
หนีห่างจากสิ่งที่ตนไม่พอใจ
กระทำหรือเข้าใกล้กับสิ่งที่ตนพอใจ
ปัจจัยร่วม (Modifying Factors)
ไม่มีผลโดยตรงต่อพฤติกรรมสุขภาพ
ปัจจัย
ประชากร
เพศ อายุ เชื้อชาติ ศาสนา
สังคมจิตวิทยา
เช่น บุคลิกภาพ กลุ่มเพื่อน ค่านิม วัฒนธรรม
โครงสร้างพื้นฐาน
ระบบบริการสุขภาพ
มโนทัศน์แบบจำลองและการประยุกต์ใช้
การรับรู้ต่อโอกาสเสี่ยงของการเป็นโรค
การประยุกต์ใช้
ให้ข้อมูลที่แสดงให้เห็นอย่างชัดเจน
ค้นหารบุคคลที่มีความเสี่ยงและประเมินความเสี่ยง
การรับรู้ความรุนแรงของโรค
วิเคราะห์ผลเสียที่จะเกิดตามมาจากการเจ็บป่วย
ให้ข้อมูลที่เป็นจริงเกี่ยวกับผลกระทบที่จะเกิด
การรับรู้ประโยขน์ที่จะได้รับและค่าใช้จ่าย
ร่วมกันกำหนดพฤติกรรมที่ควรปฏบัติให้ชัดเจน
อธิบายถึงประโยชน์ที่คาดว่าจะเกิดจากการปฏิบัติพฤติกรรม
แรงจูงใจด้านสุขภาพ
ร่วมวิเคราะห์หาข้อเสีย/อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรม
จัดสิ่งแวดล้อมหรือบริการที่เอื้อต่อการปฏิบัติ
ลดการรับรู้อุปสรรคต่างๆ
ปัจจัยร่วม
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการปฏิบัติให้ชัดเจน
กระตุ้นการตระหนัก
ครอบครัว กลุ่มเพื่อนเข้ามามีส่วนร่วม
ติดตามให้ความช่วยเหลือ
PRECEDE-PROCEED Model
ขั้นตอนที่1 การวิเคราะห์ทางสังคม
คุณภาพชีวิต
ประเมินสิ่งที่เกี่ยวข้อง
เพื่อค้นหาปัญหา ข้อมูล
ตัวกำหนดคุณภาพชีวิตของประชากรกลุ่มเป้าหมายต่างๆ
ขั้นตอนที่2 การวิเคราะห์ทางระบาดวิทยา
ปัญหาสุขภาพที่พบ
การเจ็บป่วย การเกิดโรค
ภาวะสุขภาพดี
ปัจจัยการเกิดโรค การกระจายโรค
ประโยชน์
จัดเรียงลำดับความสำคัญของปัญหา
วางแผนการดำเนินงานสุขศึกษาได้เหมาะสม
ขั้นตอนที่3 การวิเคราะห์ด้านพฤติกรรม
หาสาเหตุที่เกี่ยวข้อง
จากพฤติกรรมของบุคคล
สาเหตุที่ไม่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรม
พันธุกรรม
ภาวะเศรษฐกิจ
ขั้นตอนที่4 การวิเคราะห์ทางการศึกษา
เป็นการประเมินสาเหตุของพฤติกรรม
ประกอบด้วย 3 ปัจจัย
ปัจจัยเอื้อให้เกิดพฤติกรรม
ปัจจัยเสริมแรงให้เกิดพฤติกรรมต่อเนื่อง
ปัจจัยนำ
ขั้นตอนที่5 การวิเคราะห์ทางการบริหาร
เพื่อ
ดำเนินงานตามแผนงาน
อธิบายถึงแหล่งทรัพยากรขององค์กรที่ต้องการสร้างแผนงาน
ขั้นตอนที่6 การปฏิบัติ
ดำเนินตามกลวิธี วิธีการและกิจกรรม
ขั้นตอนที่7 การประเมินกระบวนการ
ประเมินถึงปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินโครงการที่วางแผนไว้
ขั้นตอนที่8 การประเมินผลกระทบ
วัดประสิทธิภาพผลของแผนงานโครงการ
ประเมินตามวัตถุประสงค์ที่ส่งผล
ปัจจัยนำ
ปัจจัยเอื้อ
ปัจจัยเสริมแรง
ขั้นตอนที่9 การประเมินผลลัพธ์
ตามวัตถุประสงค์
ประโยชน์ที่ได้รับ
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
แบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพ
(Health Promotion Model) : HPM
มโนทัศน์
ลักษณะเฉพาะแลประสบการณ์ของบุคคล
พฤติกรรมที่เกี่ยวข้อง
เคยปฏิบัติในอดีต
มีอิทธิพลโดยตรงต่อการปฏิบัติพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
ปัจจัยส่วนบุคคล
ปัจจัยด้านชีววิทยา
อายุ ดัชนีมวลกาย
สภาวะวัยรุ่น สภาวะหมดระดู
ความจุปอด ความแข็งแรงของร่างกาย
ความกระฉับกระเฉง ความสมดุลของร่างกาย
ความคิดและอารมณ์ต่อพฤติกรรม
การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรม
เป็นแรงเสริมทำให้เกิดแรงจูงใจ
บุคคลจะปฏิติตามประสบการณ์ในอดีต
การรับรู้อุปสรรคในการปัฏิบัติพฤติกรรม
อุปสรรคภายใน
ความขี้เกียจ ความไม่รู้ ไม่มีเวลา เป็นต้น
อุปสรรคภายนอก
ค่าใช้จ่ายสูง สภาพอากาศ เป็นต้น
การรับรู้ความสามารถของตนเอง
เชื่อมั่นในการบริหารและกระทำพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
ความรู้สึกที่มีผลต่อพฤติกรรม
อาจเกิดความรู้สึกในทางบวกหรือลบก็ได้
อิทธิพลระหว่างบุคคล
ครอบครัว (พ่อ แม่ พี่ น้อง) เพื่อน
บุคลากรทางสุขภาพ
อิทธิพลจากสถานการณ์
พฤติกรรมผลลัพธ์
ความมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติพฤติกรรม
เป็นกระบวนการคิดรู้ ตั้งใจจริงจังที่จะกระทำ
ความจำเป็นอื่นและทางเลือกอื่นที่เกิดขึ้น
ไม่ควรเกิดขึ้นบ่อย
พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
บ่งชี้ผลลัพธ์ทางสุขภาพ
ประสบความสำเร็จ
ปรับภาวะสุขภาพ
เพิ่มความสามารถของร่างกาย
การมีคุณภาพชีวิตทุกช่วงวัย
ทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
(Trans theoretical Model Stage of Change : TTM)
6 ขั้นตอน
ขั้นเตรียมพร้อมที่จะปฏิบัติ (Preparation stage)
เตรียมตัวเริ่มมีความพร้อมที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
แนวโน้มอีก 1 เดือน
ขั้นปฏิบัติ (Action stage)
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
อยู่ในช่วง 6 เดือนแรก (ไม่เกิน 6 เดือน)
ขั้นชั่งใจ (Contemplation stage)
ตระหนักรู้ว่ามีปัญหา
แนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนอีก 6 เดือนข้างหน้า
ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
คงไว้ซึ่งพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ
มากกว่า 6 เดือน
ขั้นก่อนชั่งใจ (Pre-contemplation)
ยังไม่มีความสนใจที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ขั้นยุติพฤติกรรมเดิมอย่างถาวร (Termination)
ไม่มีอะไรมาเย้ายวนให้กลับไปทำพฤติกรรมเดิมได้อีก
เปลี่ยนแปลงอย่างถาวรตลอดชวิต
10 กระบวนการช่วยเปลี่ยนแปลง
การปลุกจิตสำนึก
อยู่ในขั้นก่อนชั่งใจ
เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นชั่งใจ
การระบายความรู้สึก
อยู่ในขั้นก่อนชั่นใจ
เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นชั่งใจ
การใคร่ครวญผลต่อสังคมรอบข้าง
อยู่ในขั้นก่อนชั่งใจ
เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นชั่งใจ
การใคร่ครวญผลต่อตนเอง
อยู่ในขั้นชั่งใจ
เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นเตรียมพร้อมที่จะปฏิบัติ
การปลดปล่อยตนเอง
อยู่เตรียมพร้อมที่จะปฏิบัติ
เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นปฏิบัติ
การปลดปล่อยสังคม
อยู่ขั้นปฏิบัติ
เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ
ให้เรียนรู้สิ่งตรงกันข้าม
อยู่ขั้นปฏิบัติ
เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ
บังคับให้ทำสิ่งที่ดีกว่าทางอ้อม
อยู่ขั้นปฏิบัติ
เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ
จงใจใช้แผนกระตุ้น
อยู่ขั้นปฏิบัติ
เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ
กัลยาณมิตร
อยู่ขั้นปฏิบัติ
เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการม
A6480121 นางสาวสโรรักษ์ โชคประกาศิต