Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่2 ทฤษฎีในการสร้างเสริมสุขภาพ, A6480116 นางสาวสุภาวดี ศรีขันซ้าย -…
บทที่2 ทฤษฎีในการสร้างเสริมสุขภาพ
ทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม Trans theoretical Model Stage of Change : TTM
ขั้นเตรียมพร้อมที่จะปฏิบัติ (Preparation stage / Determination)
เตรียมตัวเริ่มมีความพร้อมที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ขั้นปฏิบัติ (Action stage)
เชื่อมั่นในศักยภาพของตนเองว่าสามารถทำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้และกำลังกระทำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ขั้นชั่งใจ (Contemplation stage)
ตระหนักรู้ว่ามีปัญหา แต่ยังไม่คิดที่จะทำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
สามารถคงไว้ซึ่งพฤติกรรมใหม่อย่างสม่ำเสมอได้นานมากกว่า 6 เดือน
ขั้นก่อนชั่งใจ (Pre-contemplation stage)
ยังไม่มีความสนใจที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในอีก 6 เดือนข้างหน้า
ขั้นยุติพฤติกรรมเดิมอย่างถาวร (Termination)
ไม่มีอะไรมาเย้ายวนให้กลับไปทำพฤติกรรมเดิมได้อีก
หลักกระบวนการช่วยเปลี่ยนแปลง Process of Change
การปลุกจิตสำนึก (consciousness raising)
เทคนิคนี้เหมาะสำหรับผู้ที่อยู่ในขั้นก่อนชั่งใจ (Pre-contemplation stage) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นชั่งใจ (Contemplation stage)
การระบายความรู้สึก (Dramatic relief)
เทคนิคนี้เหมาะสำหรับผู้ที่อยู่ในขั้นก่อนชั่งใจ (Pre-contemplation stage) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นชั่งใจ (Contemplation stage)
การใคร่ครวญผลต่อสังคมรอบข้าง (social reevaluation)
เทคนิคนี้เหมาะสำหรับผู้ที่อยู่ในขั้นก่อนชั่งใจ (Pre-contemplation stage) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นชั่งใจ (Contemplation stage)
การใคร่ครวญผลต่อตนเอง (self reevaluation)
เทคนิคนี้เหมาะสำหรับผู้ที่อยู่ในขั้นชั่งใจ (Contemplation stage) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นเตรียมพร้อมที่จะปฏิบัติ (Preparationstage /Determination)
การปลดปล่อยตนเอง (self liberation)
เทคนิคนี้เหมาะสำหรับผู้ที่อยู่ในขั้นเตรียมพร้อมที่จะปฏิบัติ (Preparation stage / Determination) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นปฏิบัติ (Action)
การปลดปล่อยสังคม (social liberation)
เทคนิคเหมาะสำหรับที่อยู่ในขั้นปฏิบัติ (Action) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
ให้เรียนรู้สิ่งตรงกันข้าม (counterconditioning)
เทคนิคเหมาะสำหรับที่อยู่ในขั้นปฏิบัติ (Action) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
บังคับให้ทำสิ่งที่ดีกว่าทางอ้อม (stimulus control)
เทคนิคเหมาะสำหรับที่อยู่ในขั้นปฏิบัติ (Action) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
จงใจใช้แผนกระตุ้น (contingency management)
เทคนิคเหมาะสำหรับที่อยู่ในขั้นปฏิบัติ (Action) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
กัลยาณมิตร (helping relationship)
เทคนิคเหมาะสำหรับที่อยู่ในขั้นปฏิบัติ (Action) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
แบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพ (Health Promotion Model : HPM)
มโนทัศน์หลักของแบบจำลอง
ลักษณะเฉพาะและประสบการณ์ของบุคคล (lndividual Characteristics and Experiences)
พฤติกรรมที่เกี่ยวข้อง (Prior related behavior)
ปัจจัยส่วนบุคคล (Personal Factors)
ปัจจัยด้านชีววิทยา
ปัจจัยด้านจิตวิทยา
ปัจจัยด้านสังคมวัฒนธรรม
ความคิดและอารมณ์ต่อพฤติกรรม (Behavior-Specific Cognition and Affect)
การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรม (Perceived Benefits of Action)
การรับรู้อุปสรรคในการปฏิบัติพฤติกรรม ( Perceived Barriers to Action)
การรับรู้ความสามารถของตนเอง (PerceivedSelf-Ef ficacy)
ความรู้สึกที่มีต่อพฤติกรรม (Activity-Related Affect)
อิทธิพลระหว่างบุคคล (Interpersonal Influences)
อิทธิพลจากสถานการณ์ (Situational Influences)
พฤติกรรมผลลัพธ์ (Behavioral Outcome)
ความมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติพฤติกรรม (Commitment to a Plan of Actions)
ความจำเป็นอื่นและทางเลือกอื่นที่เกิดขึ้น (Immediate Competing Demands and Preferences)
พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ (Health-Promoting Behavior)
Precede-Proceed Model
ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์ทางสังคม (Phase1 : Social Assessment)
เป็นขั้นตอนแรกของการวิเคราะห์โดยการประเมินสิ่งที่เกี่ยวข้อง
จุดประสงค์ของการประเมินในระยะนี้เพื่อค้นหา ข้อมูล และประเมินปัญหาด้านสังคมที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิต (Quality of Life : QOL) ของประชากรเป้าหมาย
ขั้นตอนที่ 5 (Phase 5 : Administrative and Policy Assessment)
เป็นการประเมินความสามารถของการบริหาร และนโยบายของการจัดการโครงการส่งเสริมสุขภาพ
ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะห์ด้านพฤติกรรม (Phase 3 : Behavioral Assessment)
จากปัจจัยปัญหาด้านสุขภาพอนามัยที่ได้ในขั้นตอนที่ 1-2
ขั้นตอนที่ 2 การวิเคราะห์ทางระบาดวิทยา (Phase 2 : Epidemiological Assessment)
เป็นการวิเคราะห์ว่ามีปัญหาสุขภาพที่สำคัญอะไรบ้าง ข้อมูลทางระบาดวิทยาจะชี้ให้เห็นถึงการเจ็บป่วยการเกิดโรค และภาวะสุขภาพ ตลอดจนปัจจัยต่างๆ
ขั้นตอนที่ 7 การประเมินกระบวนการ (Phase 7 : Process Evaluation)
เพื่อประเมินถึงปัจจัยด้านการบริหารจัดการ ที่จะมีผลต่อการดำเนินโครงการที่ได้วางแผนไว้
ขั้นตอนที่ 9 การประเมินผลลัพธ์ (Phase 9 : Outcome Evaluation)
ขั้นตอนที่ 6 การปฏิบัติการ (Phase 6 : lmplementation)
ดำเนินงานตามกลวิธี วิธีการและกิจกรรม โดยผู้รับผิดชอบในแต่ละเรื่องและประเด็นที่กำหนดไว้ตามตารางการปฏิบัติกิจกรรม
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ทางการศึกษา (Phase 4 Educational Assessment)
ปัจจัยนำ (predisposing factors)
ปัจจัยที่เป็นพื้นฐานและก่อให้เกิดแรงจูงใจในการแสดงพฤติกรรมของบุคคล เช่น ความรู้ ความเชื่อ ค่านิยม ทัศนคติ
ปัจจัยเอื้อให้เกิดพฤติกรรม (enabling factors)
คุณลักษณะของสิ่งแวดล้อม ทั้งด้านกายภาพและสังคมวัฒนธรรม
ปัจจัยเสริมแรงให้เกิดพฤติกรรมต่อเนื่อง (reinforcing factors)
สิ่งที่บุคคลจะได้รับ หรือคาดว่าจะได้รับจากบุคคลอื่น
ขั้นตอนที่ 8 การประเมินผลกระทบ (Phase 8 : lmpact Evaluation)
แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ (Health Belief Model : HBM)
ปัจจัยร่วม (Modifying Factors)
ปัจจัยด้านประชากร
เพศ อายุ เชื้อชาติ ศาสนา
ปัจจัยด้านสังคมจิตวิทยา
บุคลิกภาพ กลุ่มเพื่อน มีความเกี่ยวข้องกับบรรทัดฐานทางสังคม ค่านิยม วัฒนธรรม
ปัจจัยโครงสร้างพื้นฐาน
ระบบบริการสุขภาพ
แนวคิด
การรับรู้ของบุคคลเป็นตัวบ่งชี้พฤติกรรมโดยบุคคลจะกระทำหรือเข้าใกล้กับสิ่งที่ตนพอใจและคิดว่าสิ่งนั้นจะก่อให้เกิดผลดีแก่ตน และจะหนีห่างจากสิ่งที่ตนไม่ปรารถนา
การที่บุคคลใดจะมีพฤติกรรมหลีกเลี่ยง จากการเป็นโรค บุคคลนั้นจะต้องมีความเชื่อว่า เขามีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรค โรครุนแรงต่อชีวิตของเขาพอสมควร และการปฏิบัติในการหลีกเลี่ยงจากการเป็นโรค
องค์ประกอบของแบบจำลองความเชื่อด้านสุขภาพ
การรับรู้ความรุนแรงของโรค
ความเชื่อที่บุคคลเป็นผู้ประเมินเองในด้านความรุนแรงของโรคที่มีต่อร่างกาย การก่อให้เกิดพิการ เสียชีวิต ความยากลำบากและการต้องใช้ระยะเวลานานในการรักษา
การรับรู้ประโยชน์ที่จะได้รับและค่าใช้จ่าย
การที่บุคคลแสวงหาวิธีการปฏิบัติให้หายจากโรคหรือป้องกันไม่ให้เกิดโรค โดยการปฏิบัตินั้นต้องมีความเชื่อว่าเป็นการกระทำที่ดีมีประโยชน์และเหมาะสมที่จะทำให้หายหรือไม่
บุคคลจะต้องมีความเชื่อว่าค่าใช้จ่ายซึ่งเป็นข้อเสีย หรืออุปสรรคของการปฏิบัติในการป้องกันและรักษาโรคจะต้องมีน้อยกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับประโยชน์ที่จะได้รับ
การรับรู้ต่อโอกาสเสี่ยงของการเป็นโรค
ความเชื่อหรือการคาดคะเนว่าตนมีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรคหรือปัญหาสุขภาพนั้นมากน้อยเพียงใด
การรับรู้ของผู้ป่วย หมายถึงความเชื่อต่อความถูกต้องของการวินิจฉัยโรคของแพทย์
แรงจูงใจด้านสุขภาพ
ระดับความสนใจและความห่วงใยเกี่ยวกับสุขภาพ ความปรารถนาที่จะดำรงรักษาสุขภาพและการหลีกเลี่ยงจากการเจ็บป่วย
เกิดจากความสนใจสุขภาพโดยทั่วไปของบุคคล
ปัจจัยร่วม
ปัจจัยที่มีส่วนช่วยส่งเสริมหรือเป็นอุปสรรคต่อการที่บุคคลจะปฏิบัติเพื่อการป้องกันโรค
A6480116 นางสาวสุภาวดี ศรีขันซ้าย