Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีในการสร้างเสริมสุขภาพ - Coggle Diagram
ทฤษฎีในการสร้างเสริมสุขภาพ
แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ
Health Belief Model:HBM
แนวคิด
•การรับรของบุคคล
บุคคลจำทำสิ่งที่ตนสนใจ เป็นผลดี จะห่างจากสิ่งที่ไม่ชอบ
การที่บุคคลจะมีพฤติกรรมหลีกเลี่ยงจากโรค ต้องเข้าใจโอกาสเสี่ยงต่อโรคก่อน
ปัจจัยร่วม (Modifying Factors)
•ด้านประชากร เพศ อานุ เชื้อชาติ ศาสนา
•ด้านสังคมจิตวิทยา บุคลิกภาพ เพื่อน สังคม ค่านิยม วัฒนธรรม
•โครงสร้างพื้นฐาน ระบบบริการสุขภาพ
องค์ประกอบของแบบจำลองความเชื่อด้านสุขภาพ
1.การรับรต่อโอกาสเสี่ยงของการเป็นโรค
ความเชื่อหรือการคาดคะเน
2.การรับรู้ความรุนแรงของโรค
บุคคลจะประเมินตัวเองในด้านความรุนแรงของโรคต่อร่างกาย
3.การรับรู้ประโยชน์ที่จะได้รับและค่าใช้จ่าย
บุคคลจะศึกษาการป้องกันโรคและเชื่อว่าค่าใช้จ่ายเป็นอุปสรรค
4.แรงจูงใจด้านสุขภาพ
ให้ความสนใจและห่วงใยสุขภาพ กระตุ้นถึงโอกาสเสี่ยงต่อโรค และเชื่อว่าเป็นผลดี
5.ปัจจัยร่วม
เป็นปัจจัยที่ส่งเสริมเพื่อป้องกันโรค
PRECEDE-PROCEED Model
ประยุกต์ใช้วางแผน ประเมินผลโครงการส่งเสริมสุขภาพ และสุขศึกษา การพัฒนาขึ้นมาโดย Lawrence W. Green และ Matthew W. Krueter
หมายถึง นโยบาย กฎระเบียบ และโครงสร้างของ
ในการพัฒนาการศึกษาและสิ่งแวดล้อม
ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์ทางสังคม (Phase1 : Social Assessment)
เป็นการพิจารณา และวิเคราะห์ “คุณภําพชีวิต” ซึ่งถือว่าเป็นขั้นตอนแรกของการวิเคราะห์โดย การประเมินสิ่งที่เกี่ยวข้อง หรือตัวกําหนดคุณภาพชีวิตของประชากรกลุ่มเป้าหมายต่างๆ
ขั้นตอนที่ 2 การวิเคราะห์ทางระบาดวิทยา (Phase 2 : Epidemiological Assessment)
เป็นการวิเคราะห์ว่ามีปัญหาสุขภาพที่สําคัญอะไรบ้าง ข้อมูลทางระบาดวิทยาจะชี้ให้เห็นถึงการ เจ็บป่วยการเกิดโรค และภาวะสุขภาพตลอดจนปัจจัยต่าง จะช่วยให้สามารถจัดเรียงลําดับความสําคัญของปัญหา เพื่อประโยชน์การวางแผน การดําเนินงานสุขศึกษาได้อย่างเหมาะสมต่อไป
ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะห์ด้านพฤติกรรม (Phase 3 : Behavioral Assessment)
นำปะัญหาด้านสุขภาพอนามัย 1-2 มาวิเคราะห์ต่อเพื่อหาสาเหตุที่เกี่ยวข้อง
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ทางการศึกษา (Phase 4 : Educational Assessment)
เป็นการประเมินสาเหตุของพฤติกรรมสุขภาพที่ระบุไว้ในระยะท่ี 2 สาเหตุของ พฤติกรรมสุขภาพ ประกอบด้วย 3 กลุ่มปัจจัยด้วยกัน คือ ปัจจัยนำ ปัจจัยเอื้อ ปัจจัยเสริม
ขั้นตอนที่ 5 การวิเคราะห์ทางการบริหาร (Phase 5 : Administrative and Policy Assessment)
เป็นการประเมินความสามารถของการบริหาร และนโยบายของการจัดการโครงการส่งเสริม สุขภาพ เพี่ออธิบายถึงแหล่งทรัพยากรขององค์กรที่ต้องการสร้างแผนงานและดําเนินงานตามแผนงานทำให้
โครงการส่งเสริมสุขภาพประสบความสําเร็จ
ขั้นตอนที่ 6 การปฏิบัติการ (Phase 6 : Implementation)
ดําเนินงานตามกลวิธี วิธีการและกิจกรรม โดยผู้รับผิดชอบในแต่ละเรื่องและประเด็น ที่กําหนด ไว้ตามตารางการปฏิบัติกิจกรรม
ขั้นตอนท่ี 7 การประเมินกระบวนการ (Phase 7 : Process Evaluation)
เพื่อประเมินถึงปัจจัยด้านการบริหารจัดการ ที่จะมีผลต่อการดําเนิน
โครงการท่ีได้วางแผนไว้
ขั้นตอนที่ 8 การประเมินผลกระทบ (Phase 8 : Impact Evaluation)
การประเมินผลลัพธ์ที่เกิดจากการดําเนินโครงการในระยะสั้น เป็นการวัดประสิทธิผลของ แผนงาน โครงการตามวัตถุประสงค์ระยะสั้นที่ส่งผลต่อการ เปลี่ยนแปลงปัจจัยนํา ปัจจัยเอื้อ และปัจจัยเสริมแรง
ขั้นตอนที่ 9 การประเมินผลลัพธ์ (Phase 9 : Outcome Evaluation)
เป็นการประเมินผลรวบยอดของวัตถุประสงค์ท่ีมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นและประโยชน์ที่ได้รับ ด้านสุขภาพหรือคุณภาพชีวิต ซึ่งอาจจะใช้เวลานาน ผลเหล่านี้จึงจะเกิดข้ึนซึ่งอาจจะเป็นปีๆ จึงจะสามารถ
ประเมินคุณภาพชีวิต ของกลุ่มเป้าหมายได้
แบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพ (Health Promotion Model : HPM)
ปัจจัยส่วนบุคคล (Personal Factors)
1.ปัจจัยด้านชีววิทยา อายุ ดัชนีมวลกําย สภาวะวัยรุ่น ความจุปอด ความแข็งแรง
ปัจจัยด้านจิตวิทยา ได้แก่ ความมีคุณค่าในตนเอง แรงจูงใจในตนเอง การรับรู้ภาวะสุขภาพของตนเอง
ปัจจัยด้านสังคมวัฒนธรรม ได้แก่ สัญชาติ วัฒนธรรม การศึกษา
2. ความคิดและอารมณ์ต่อพฤติกรรม
(Behavior-Specific Cognition and Affect)
1.การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรม (Perceived Benefits of Action)
รับรู้ประโยชน์จากการปฏิบัติพฤติกรรมเป็นแรงเสริมทําให้บุคคลเกิดแรงจูงใจในการปฏิบัติพฤติกรรม
2.การรับรู้อุปสรรคในการปฏิบัติพฤติกรรม (Perceived Barriers to Action)
หมายถึง ความเชื่อหรือการรับรู้ถึงสิ่งขัดขวางที่ทําให้บุคคลไม่สามารถปฏิบัติพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
3.การรับรู้ความสามารถของตนเอง (PerceivedSelf-Ef ficacy)
หมํายถึง ควําม เชื่อมั่นของบุคคลเกี่ยวกับความสามารถของตนเองในการบริหารจัดการและกระทําพฤติกรรม ใดๆภายใต้อุปสรรคหรือสภาวะต่างๆในการปฏิบัติพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
4.ความรู้สึกที่มีต่อพฤติกรรม (Activity-Related Affect) หมายถึง ความรู้สึกในทางบวกหรือลบที่เกิดขึ้นก่อน ระหว่าง และหลังการปฏิบัติพฤติกรรม การตอบสนองความรู้สึกนี้อาจมีน้อย ปานกลาง หรือ มาก การตอบสนองความรู้สึกต่อพฤติกรรมใดๆ
5.อิทธิพลระหว่างบุคคล (Interpersonal Influences) หมายถึง พฤติกรรมความเชื่อ หรือทัศนคติของคน อื่นที่มีอิทธิพลต่อความคิดของบุคคล แหล่งของอิทธิพลระหว่างบุคคลที่มีผลต่อ พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ ได้แก่ ครอบครัว (พ่อ แม่ พี่ น้อง) เพื่อน และบุคลากรทางสุขภาพ
6.อิทธิพลจากสถานการณ์ (Situational Influences)
อิทธิพลจากสถานการณ์ หมายถึง การรับรู้และความคิดของบุคคลเกี่ยวกับสถานการณ์หรือบริบทที่สามารถเอื้อหรือขัดขวาง การปฏิบัติพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
3.พฤติกรรมผลลัพธ์ (Behavioral Outcome)
1.ความมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติพฤติกรรม (Commitment to a Plan of Actions) ความมุ่งมั่นต่อแผนการปฏิบัติพฤติกรรม เป็นกระบวนการคิดรู้ ที่ประกอบด้วยความตั้งใจที่จริงจังที่จะกระทํา พฤติกรรมซึ่งสอดคล้องกับเวลา บุคคล สถานที่
2.ความจำเป็นอื่นและทางเลือกอื่นที่เกิดขึ้น (Immediate Competing Demands and Preferences) หมายถึง พฤติกรรมอื่นที่เกิดขึ้นทันทีทันใดก่อนที่จะเกิดพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ ตามที่วางแผนไว้และอาจทำให้บุคคลไม่สามารถปฏิบัติพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพตามที่ได้วางแผนไว้ ความจำเป็นและทางเลือกอื่น
3.พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ (Health-Promoting Behavior) พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
เป็นจุดสุดท้ายและผลจากการปฏิบัติพฤติกรรมในแบบจําลองส่งเสริมสุขภาพ
ทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
Trans theoretical Model Stage of Change : TTM
ขั้นก่อนชั่งใจ (Pre-contemplation stage) ยังไม่มีความสนใจที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในอีก 6 เดือนข้างหน้า ไม่ตระหนักรู้ไม่คิดว่าสิ่งที่ทําอยู่ ณ ปัจจุบัน เป็นปัญหา หรือมีความจําเป็นที่จะต้องทําการปรับเปลี่ยน
ขั้นชั่งใจ (Contemplation stage) ตระหนักรู้ว่ามีปัญหา แต่ยังไม่คิดที่จะทําการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ไม่แน่ใจ ยังครุ่นคิดอยู่ และมีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในอีก 6 เดือนข้างหน้ํา
3.ขั้นเตรียมพร้อมที่จะปฏิบัติ (Preparation stage / Determination) เตรียมตัวเริ่มมี ความพร้อมที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในอีก 1 เดือน ข้างหน้า
4.ขั้นปฏิบัติ (Action stage) เชื่อมั่นในศักยภาพของตนเองว่าสามารถทําการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมได้และกําลังกระทําการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กระทําการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อยู่ในช่วง 6 เดือนแรกของ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (ไม่เกิน 6 เดือน)
5.ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
สามารถคงไว้ซึ่งพฤติกรรมใหม่อย่างสม่ำเสมอได้นานมากกว่า 6 เดือน ถึงแม้ว่าจะมีสิ่งเร้ากระตุ้นให้กลับไปสู่พฤติกรรมเดิม
6.ขั้นยุติพฤติกรรมเดิมอย่างถาวร (Termination) ไม่มีอะไรมาเย้ายวนให้กลับไปทําพฤติกรรมเดิมได้อีก สามารถมั่นใจได้ 100% มีการเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างถาวรตลอดชีวิต
หลักกระบวนการช่วยเปลี่ยนแปลง
Process of Change
1.การปลุกจิตสานึก(consciousness raising)
เป็นการใช้วิธีต่างๆบอกให้รู้ ผลเสียของการไม่เปลี่ยนและผลดีของการเปลี่ยนพฤติกรรม
2.การระบายความรู้สึก (Dramatic relief)
เพื่อกระตุ้นหรือผลักดันจิตใจ อารมณ์ให้เกิดความอยากเปลี่ยนแปลง
3.การใคร่ครวญผลต่อสังคมรอบข้าง (social reevaluation) เช่น นึกต่อไปว่า ถ้าตนเองดื่มแอลกอฮอล์จัดอยู่ต่อไปลูกๆจะเป็นอย่างไร หรือผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่ สนใจควบคุมอาหารจนทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อน
4.การใคร่ครวญผลต่อตนเอง (self reevaluation) เช่นจินตนาการว่าถ้าเอาแต่นอนโซฟาดูทีวี ภาพของตนเองต่อไปจะเป็นอย่างไร ถ้าขยันขันแข็งออกกําลังกายทุกวันภาพของตนจะเป็นอย่างไร
5.การปลดปล่อยตนเอง (self liberation) คือการพยายามให้มีทางเลือกในการ เปลี่ยนแปลงงานวิจัยบ่งชี้ว่าถ้าคนเรามีทางเลือกสองทาง จะมีความมุ่งมั่นมากกว่า มีทํางเลือกทํางเดียว ถ้ามีทางเลือกสามทาง จะมีมุ่งมั่นมากกว่ามีทางเลือกสองทาง
6.การปลดปล่อยสังคม (social liberation) คืออาศัยความรู้สึกว่าเป็นการ ปลดปล่อยจากการถูกกดขี่เอาเปรียบทางสังคมมา เป็นตัวสร้างความมุ่งมั่นในการ เปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เช่นโครงการส่งเสริมสุขภาพชนกลุ่มน้อย
7.ให้เรียนรู้สิ่งตรงกันข้าม (counterconditioning) เช่นให้เรียนรู้การสนองตอบแบบผ่อนคลายเพื่อแก้ปัญหาเครียด ให้เรียนรู้การเป็นคนกล้าพูดกล้า แสดงออกเพื่อแก้ปัญหาการทนแรงกดดันจาก เพื่อนชวนไม่ได้
8.บังคับให้ทำสิ่งที่ดีกว่าทางอ้อม (stimulus control) เช่นสร้างที่จอดรถให้ห่างที่ทํางานเพื่อบังคับให้ต้องเดิน ติดตั้งงานศิลปกรรมไว้ข้างบันไดเพื่อชักจูงให้ขึ้นลงบันได
9.จงใจใช้แผนกระตุ้น (contingency management) เช่น การตกรางวัลถ้าทําสิ่งที่ดีกว่าการชื่นชมผลงานหรือแม้กระทั่งการลงโทษถ้าไม่เลิกสิ่งที่ไม่ดี
10.กัลยาณมิตร (helping relationship) เช่นการเป็นที่ปรึกษาทางโทรศัพท์ให้การมีบัดดี้คอยสนับสนุน