Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 ทฤษฎีในการสร้างเสริมสุขภาพ, A6480149 นางสาวไพลิน สุนทราวงค์ -…
บทที่ 2
ทฤษฎีในการสร้างเสริมสุขภาพ
➢ทฤษฎี (Theory) เป็นกลุ่มของแนวคิดหรือมโนทัศน์ (Concepts) คำจำกัดความ (Definitions) และข้อเสนอ
(Proposition) ที่ใช้ในการอธิบายหรือคาดการณ์ปรากฏการณ์หรือเหตุการณ์
แนวคิดหรือมโนทัศน์ (Concepts)
เป็นองค์ประกอบหลักที่มีอยู่ในทฤษฎีและประกอบกันเป็นคำอธิบำย
แบบจำลอง (Models)
เป็นกำรรวมเอาแนวคิดหรือองค์ประกอบจากทฤษฎีหลายทฤษฎี
แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ
(Health Belief Model : HBM)
แนวคิด
กำรรับรู้ของบุคคลเป็นตัวบ่งชี้พฤติกรรมโดยบุคคลจะกระทำหรือเข้าใกล้กับสิ่งที่ตนพอใจ และคิดว่าสิ่งนั้นจะก่อให้เกิดผลดีแก่ตน และจะหนีห่างจากสิ่งที่ตนไม่ปรารถนา
การที่บุคคลใดจะมีพฤติกรรมหลีกเลี่ยง จากการเป็นโรคบุคคลนั้นจะต้องมีความเชื่อว่า เขามีโอกาสเสี่ยงต่อกำรเป็นโรค โรคมีความรุนแรงต่อชีวิตของเขาพอสมควร
ปัจจัยร่วม (Modifying Factors)
ปัจจัยด้ำนประชากร
ปัจจัยด้านสังคมจิตวิทยา
ปัจจัยโครงสร้างพื้นฐาน
องค์ประกอบของแบบจำลองความเชื่อด้านสุขภาพ
การรับรู้ต่อโอกาสเสี่ยงของการเป็นโรค
ความเชื่อหรือการคาดคะเนว่า
การรับรู้ของผู้ป่วย
การรับรู้ความรุนแรงของโรค
ความเชื่อที่บุคคลเป็นผู้ประเมินเองในด้านความรุนแรงของโรคที่มีต่อร่างกาย
การรับรู้ประโยชน์ที่จะได้รับและค่าใช้จ่าย
การที่บุคคลแสวงหาวิธีการปฏิบัติให้หายจากโรคหรือป้องกันไม่ให้เกิดโรค
บุคคลจะต้องมีความเชื่อว่าค่าใช้จ่ายซึ่งเป็นข้อเสีย
แรงจูงใจด้านสุขภาพ
ระดับความสนใจและความห่วงใยเกี่ยวกับสุขภาพ
เกิดจากความสนใจสุขภาพโดยทั่วไปของบุคคล
ปัจจัยร่วม
ปัจจัยที่มีส่วนช่วยส่งเสริมหรือเป็นอุปสรรคต่อกำรที่บุคคลจะปฏิบัติเพื่อกำรป้องกันโรค
ทฤษฎีแรงสนับสนุนทางสังคม
(Social Support Theory)
แหล่งที่มาของการสนับสนุนทางสังคม
ระบบการสนับสนุนตามธรรมชาติ
ระบบสนับสนุนจากกลุ่มเพื่อน
ระบบสนับสนุนด้านศาสนาหรือแหล่ง
อุปถัมภ์ต่างๆ
ระบบการสนับสนุนจากกลุ่มวิชาชีพด้าน
สุขภาพ
ระบบการสนับสนุนจากกลุ่มวิชาชีพอื่นๆ
ประเภทของการสนับสนุนทางสังคม
การสนับสนุนด้านอารมณ์ (Emotional support) การใกล้ชิดสนิทสนม
การสนับสนุนด้านการประเมิน (Appraisal support)
การสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสาร (Information support)
การสนับสนุนด้านการเงิน แรงงานและสิ่งของ (Instrumental support)
ทฤษฎีแรงสนับสนุนทางสังคม
แนวคิดนี้มีประโยชน์มากในการสร้างเครือข่ายเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ และการดูแลรักษาโรคเรื้อรัง
กลุ่มผู้ติดเชื้อเอดส์
กลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มส่งเสริมสุขภาพ
PRECEDE-PROCEED Model
PROCEED เป็นคำย่อมาจาก Policy, Regulatory, andOrganizational, Constructs, in Educational andEnvironmental, Development หมายถึง นโยบาย กฎระเบียบ และโครงสร้างของ ใน
การพัฒนาการศึกษาและสิ่งแวดล้อม
ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์ทางสังคม (Phase1 : Social Assessment)
เป็นกำรพิจารณา และวิเคราะห์ “คุณภาพชีวิต”
จุดประสงค์ของการประเมินในระยะนี้เพื่อค้นหา ข้อมูล และประเมินปัญหาด้านสังคมที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิต (Quality of Life: QOL) ของประชากร เป้าหมาย
ขั้นตอนที่ 2 การวิเคราะห์ทางระบาดวิทยา (Phase 2 : Epidemiological
Assessment)
เป็นการวิเคราะห์ว่ามีปัญหาสุขภาพที่สำคัญอะไรบ้าง ข้อมูลทางระบาดวิทยาจะชี้ให้เห็นถึงการเจ็บป่วยการเกิดโรค และภำวะสุขภาพ ตลอดจนปัจจัยต่างๆ
ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะห์ด้านพฤติกรรม (Phase 3 : Behavioral Assessment)
จากปัจจัยปัญหาด้านสุขภาพอนามัยที่ได้ในขั้นตอนที่ 1-2 จะนำมาวิเคราะห์ต่อเพื่อหาสาเหตุที่เกี่ยวข้อง โดยแบ่งเป็นสาเหตุอันเนื่องมาจำกพฤติกรรมของบุคคลและสาเหตุที่ไม่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรม
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ทางการศึกษา (Phase 4 : Educational Assessment)
ระยะนี้เป็นการประเมินสาเหตุของพฤติกรรมสุขภาพที่ระบุไว้ในระยะที่ 2 สาเหตุของพฤติกรรมสุขภาพ ประกอบด้วย 3 กลุ่มปัจจัยด้วยกัน คือ ปัจจัยนำ (predisposing factors)ปัจจัยเอื้อให้เกิดพฤติกรรม (enabling factors) และปัจจัยเสริมแรงให้เกิดพฤติกรรมต่อเนื่อง(reinforcing factors)
ขั้นตอนที่ 5 การวิเคราะห์ทางการบริหาร (Phase 5 : Administrative and
Policy Assessment)
เป็นการประเมินความสามารถของการบริหาร และนโยบายของการจัดการโครงการส่งเสริมสุขภาพ
ขั้นตอนที่ 6 การปฏิบัติการ (Phase 6 : Implementation)
ดำเนินงานตามกลวิธี วิธีการและกิจกรรม โดยผู้รับผิดชอบในแต่ละเรื่องและประเด็น ที่กำหนดไว้ตามตารางการปฏิบัติกิจกรรม
ขั้นตอนที่ 7 การประเมินกระบวนการ (Phase 7 : Process Evaluation)
เพื่อประเมินถึงปัจจัยด้านกำรบริหารจัดการ ที่จะมีผลต่อการดำเนินโครงการที่ได้วางแผนไว้
ขั้นตอนที่ 8 การประเมินผลกระทบ (Phase 8 : Impact Evaluation)
การประเมินผลลัพธ์ที่เกิดจากการดำเนินโครงการในระยะสั้น เป็นการวัดประสิทธิผลของแผนงาน
ขั้นตอนที่ 9 การประเมินผลลัพธ์ (Phase 9 : Outcome Evaluation)
เป็นการประเมินผลรวบยอดของวัตถุประสงค์ที่มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นและประโยชน์ที่ได้รับด้านสุขภาพหรือคุณภาพชีวิต
แบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพ
(Health Promotion Model : HPM)
ข้อตกลงเบื้องต้นของแบบจำลอง
บุคคลแสวงหาภาวการณ์ของชีวิตที่สร้างสรรค์โดยการแสดงความสามารถด้านสุขภาพที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตน
บุคคลมีความสามารถในการสะท้อนการตระหนักรู้ในตนเองรวมทั้งความสามารถในการประเมินสมรรถนะตนเอง
บุคคลให้คุณค่าการเจริญเติบโตในทิศทางบวกและพยายามที่จะบรรลุความสำเร็จในการยอมรับความสมดุลระหว่างการเปลี่ยนแปลงกับการมั่นคง
บุคคลแสวงหาการควบคุมพฤติกรรมของตนเอง
บุคคลซึ่งประกอบด้วยก่าย จิต สังคม มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม รวมทั้งมีการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมและความเป็นอยู่อย่างต่อเนื่อง
บุคลากรด้านสุขภาพเป็นส่วนหนึ่งของสิ่งแวดล้อมระหว่างบุคคลที่มีอิทธิพลต่อ บุคคลตลอดช่วงชีวิต
การริเริ่มด้วยตนเองในการสร้างแบบแผนความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับสิ่งแวดล้อมเป็นสิ่งจำเป็นในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
สาระของทฤษฎี
แบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ มีพื้นฐานมาจากแนวคิดด้านการคิดรู้ ซึ่งประกอบด้วยความคาดหวังต่อผลลัพธ์ของการปฏิบัติพฤติกรรม (Outcome expectancies) จากทฤษฎีการให้คุณค่าการคาดหวัง และความคาดหวังในความสามารถของตนเอง (Self-efficacyexpectancies)
มโนทัศน์หลักของแบบจำลอง
ลักษณะเฉพาะและประสบการณ์ของบุคคล (Individual Characteristics and Experiences)
1.1 พฤติกรรมที่เกี่ยวข้อง (Prior related behavior)
1.2 ปัจจัยส่วนบุคคล (Personal Factors)
ปัจจัยด้านชีววิทยา
ปัจจัยด้านจิตวิทยา
ปัจจัยด้านสังคมวัฒนธรรม
ความคิดและอารมณ์ต่อพฤติกรรม (Behavior-Specific Cognition and Affect)
2.1 การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรม (Perceived Benefits of Action)
2.2 การรับรู้อุปสรรคในการปฏิบัติพฤติกรรม (Perceived Barriers to Action)
2.3 การรับรู้ความสามารถของตนเอง (PerceivedSelf-Ef ficacy)
2.4 ความรู้สึกที่มีต่อพฤติกรรม (Activity-Related Affect)
2.5 อิทธิพลระหว่างบุคคล (Interpersonal Influences)
2.6 อิทธิพลจากสถานการณ์ (Situational Influences)
พฤติกรรมผลลัพธ์ (Behavioral Outcome) ประกอบด้วย 3 อย่าง ได้แก่
3.1 ความมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติพฤติกรรม (Commitment to a Plan of Actions)
3.2 ความจำเป็นอื่นและทางเลือกอื่นที่เกิดขึ้น (Immediate Competing Demandsand Preferences)
3.3 พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ (Health-Promoting Behavior)
การสร้างเสริมพลังอำนาจ
(Empowerment)
กระบวนการเสริมสร้างพลังอำนาจ ทำให้บุคคลเปลี่ยนแปลง ดังนี้
สามารถตัดสินใจได้ด้วยตนเอง
เข้าถึงข้อมูลและแหล่งข้อมูลที่เอื้อในการตัดสินใจได้อย่างเหมาะสม
มีทางเลือกอย่างกว้างขวาง
มีความสามารถในการคิดเชิงรุกเพื่อประกอบในการตัดสินใจ
มีความคิดทางบวกและความสามารถที่จะเปลี่ยนแปลง
มีความสามารถในทักษะการเรียนรู้ที่จะพัฒนาพลังอำนาจแห่งตนและของกลุ่ม
มีความสามารถที่จะปรับเปลี่ยนการรับรู้ของผู้อื่นโดยวิธีประชาธิปไตย
มีส่วนร่วมในกระบวนการการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงที่ไม่เคยสิ้นสุด และมีการเริ่มต้นอยู่เสมอ
เพิ่มอัตมโนทัศน์ทางบวกและสามารถเอาชนะจุดด้อยของตนได้
เพิ่มความสามารถแห่งตนในกำรคิดอย่างมีเหตุผลเพื่อแยกแยะความถูกผิดได้
ประเภทของการสร้างเสริมพลังอำนาจ
การสร้างเสริมพลังอานาจเชิงจิตใจ (Psychological Empowerment) เป็นกระบวนการเกี่ยวข้องกับการสร้างแรงจูงใจแก่บุคคลให้เกิดการรู้คิดใน 4 คุณลักษณะ คือ
ความหมาย (Meaning)มีความสอดคล้องกันระหว่างความเชื่อ ค่านิยม และการกระทำ
สมรรถนะ (Competence) เป็นความมั่นใจที่จะปฏิบัติพฤติกรรมนั้นไดสำเร็จ อาจเรียกว่าการรับรู้ความสามารถของตนเอง (Self-efficacy)
ตัดสินใจด้วยตัวเอง (Self-determination) สามารถควบคุมงานที่รับผิดชอบ หรือกิจกรรมนั้นได้
ผลกระทบ (Impact) คือ การมีอิทธิต่อผลลัพธ์ที่คาดหวัง
การสร้างเสริมพลังอานาจเชิงโครงสร้าง (Structural Empowerment) เกี่ยวข้องกับเงื่อนไข และสภาพการทำงานในองค์กรที่ทำให้บุคคล
ลักษณะของการสร้างเสริมพลังอำนาจ
กำรสร้างเสริมพลังอำนาจระดับบุคคลและระดับกลุ่ม การให้อำนาจคนแต่ละคน ให้สามารถควบคุมชีวิตของตน
การสร้างเสริมพลังอำนาจภายในและภายนอก เป็นการเพิ่มศักยภาพจากภายในกลุ่มหรือชุมชนโดยการระดมทรัพยากร ความร่วมมือ ความสามารถ สติปัญญาและความกระตือรือร้นของคนในชุมชน
แหล่งที่มาของอำนาจ
อำนาจที่เกิดจากตำแหน่งหรือหน้าที่
อำนาจที่เกิดจากการควบคุมทรัพยากรต่างๆ
อำนาจที่เกิดจากความสัมพันธ์ทางสังคม
อำนาจที่เกิดจากความเชี่ยวชาญ
อำนาจที่เกิดจากการมีข้อมูล
อำนาจที่เกิดจากคุณสมบัติ หรือบุคลิกลักษณะส่วนตัว
ขั้นตอนของการสร้างเสริมพลังอำนาจ
discovering reality การค้นพบความจริง
critical reflection การพิจารณาไตร่ตรอง สะท้อนคิดอย่างมีวิจารณญาณ
Taking charge ดำเนินการตัดสินใจเลือกวิธีการปฏิบัติที่เหมาะสม เรียนรู้ เรียกร้อง จัดการต่อรอง ปกป้องสิทธิ
holding มั่นใจที่จะควบคุมสถานการณ์ได้
ทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
Trans theoretical Model Stage of Change : TTM
มีทั้งหมด 6 ขั้นตอน คือ
ขั้นก่อนชั่งใจ (Pre-contemplation stage)
ขั้นชั่งใจ (Contemplation stage)
ขั้นเตรียมพร้อมที่จะปฏิบัติ (Preparation stage / Determination)
ขั้นปฏิบัติ (Action stage)
ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
ขั้นยุติพฤติกรรมเดิมอย่างถาวร (Termination)
หลักกระบวนการช่วยเปลี่ยนแปลง Process of Change
การปลุกจิตสำนึก (consciousness raising)
การระบายความรู้สึก (Dramatic relief)
การใคร่ครวญผลต่อสังคมรอบข้าง (social reevaluation)
การใคร่ครวญผลต่อตนเอง (self reevaluation)
การปลดปล่อยตนเอง (self liberation)
การปลดปล่อยสังคม (social liberation)
ให้เรียนรู้สิ่งตรงกันข้าม (counterconditioning)
บังคับให้ทาสิ่งที่ดีกว่าทางอ้อม (stimulus control)
จงใจใช้แผนกระตุ้น (contingency management)
กัลยาณมิตร (helping relationship)
A6480149 นางสาวไพลิน สุนทราวงค์