Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีในการ สร้างเสริมสุขภาพ, A6480110นางสาวภัทรศยา สำเภา - Coggle Diagram
ทฤษฎีในการ
สร้างเสริมสุขภาพ
แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ (Health Belief Model : HBM)
ปัจจัยร่วม (Modifying Factors)
เป็นปัจจัยที่ไม่มีผลโดยตรงต่อพฤติกรรมสุขภาพ
ปัจจัยด้านสังคมจิตวิทยา
บุคลิกภาพ กลุ่มเพื่อน มีความเกี่ยวข้องกับบรรทัดฐานทางสังคม
ปัจจัยโครงสร้างพื้นฐาน
ระบบบริการสุขภาพ
ปัจจัยด้านประชากร
เพศ อายุ เชื้อชาติ ศาสนา
องค์ประกอบของแบบจาลองความเชื่อด้านสุขภาพ
การรับรู้ประโยชน์ที่จะได้รับและค่าใช้จ่าย
แรงจูงใจด้านสุขภาพ
การรับรู้ความรุนแรงของโรค
ปัจจัยร่วม
การรับรู้ต่อโอกาสเสี่ยงของการเป็นโรค
สรุป
การนําเอาแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพใช้ในกํารจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมพฤติกรรม ป้องกันโรค เช่น การตรวจเต้านมด้วยตนเอง การใช้ถุงยางอนามัย ได้ผลดีทั้งในระดับบุคคล และ ชุมชน แต่จะให้ได้ผลดีมากขึ้นมากนํามาใช้ตอบสนองต่อการรับรู้เฉพาะด้านที่เป็นปัญหาของ ผู้รับบริการ ให้เฉพาะเจาะจง
ทฤษฎีแรงสนับสนุนทางสังคม (Social Support Theory)
แหล่งท่ีมาของการสนับสนุนทางสังคม
3.ระบบสนับสนนุด้านศาสนาหรือแหล่ง อุปถัมภ์ต่างๆ
ระบบการสนับสนุนจากกลุ่มวิชาชีพด้านสุขภาพ
ระบบสนับสนุนจากกลุ่มเพื่อน
ระบบการสนับสนุนจากกลุ่มวิชาชีพอื่นๆ
ระบบการสนับสนุนตามธรรมชาติ
ทฤษฎีแรงสนับสนุนทางสังคม
กลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มผู้ติดเชื้อเอดส์
กลุ่มส่งเสริมสุขภาพ เช่น กลุ่มแอร์โรบิค กลุ่มวิ่ง กลุ่มปั่นจักรยาน
กลุ่มปฏิบัติธรรม
แนวคิดนี้มีประโยชน์มากในการสร้างเครือข่ายเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ และการดูแลรักษาโรคเรื้อรัง
ประเภทของการสนับสนุนทางสังคม
การสนับสนุนด้านการประเมิน (Appraisal support) ได้แก่ การได้รับข้อมูลย้อนกลับ การได้ รับคํารับรองซึ่งจะทําให้ผู้รับเกิดความพอใจ นําไปประเมินตนเอง และเปรียบเทียบตัวเองกับผู้อื่ยในสังคมเดียวกัน
การสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสาร (Information support) เป็นกํารได้รับคําแนะนํา คําเตือน คําปรึกษาที่สามารถนําไปแก้ไขปัญหาท่ีกําลังเผชิญอยู่ได้
การสนับสนุนด้านอารมณ์ (Emotional support) การใกล้ชิดสนิทสนม ได้แก่ พฤติกรรมซึ่ง แสดงออกด้วยการรับฟังอย่างสนใจ
การสนับสนุนด้านการเงิน แรงงานและสิ่งของ (Instrumental support) ซึ่งเป็นพฤติกรรม การช่วยเหลือโดยตรงต่อความจําเป็นพื้นฐาน
PRECEDE-PROCEED Model
ขั้นที่ 5 Administrative and Policy Assessment
ประเมินความสามารถของการบริหาร
ขั้นที่ 6 การปฏิบัติ Implementation
ดําเนินตามกลวิธี วิธีการและกิจกรรมโดยแต่ละเรื่องและประเด็นที่กําหนด
ขั้นที่4การวิเคราะห์ทางการศึกษาEducational Assessment
ประเมินสาเหตุของพฤติกรรม
ขั้นที่ 7 การประเมินกระบวนการ Process Evaluation
ประเมินถึงปัจจัยด้านบริหารจัดการ ที่มีผลการดําเนินที่วางแผนไว
ขั้นที่3การวิเคราะห์ด้านพฤติกรรมBehavioral Assessment
นํามาวิเคราะห์ต่อเพื่อหาสาเหตุที่เกี่ยวข้อง
ขั้นที่ 8 การประเมินผลกระทบ Impact Evaluation
ประเมินผลลัพธ์ที่เกิดจากการดําเนินโครงการในระยะสั้น
ขั้นที่ 2 การวิเคราะหท์างระบาดวิทยา Epidemiological Assessment
วิเคราะห์ว่าปัญหาสําคัญอะไรบ้าง
ขั้นที่ 9 การประเมินผลลัพธ์ Outcome Evaluation
ประเมินผลรวบยอดของวัตถุประสงค์ ประโยชน์ที่ได้รับ
ขั้นที่1วิเคราะห์ทางสังคมSocialAssessment
เป็นการพิจารณาและวิเคาระห์ คุณภาพชีวิต
ทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
Trans theoretical Model Stage of Change : TTM
ทฤษฎีเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมมี 6 ขั้นตอน
3.ขั้นเตรียมพร้อมที่จะปฏิบัติ (Preparation stage / Determination)
เตรียมตัวที่จะเริ่มปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
4.ขั้นปฏิบัติ (Action stage) เชื่อมั่นในศักยภาพของตนเองว่าสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้
2.ขั้นที่ชั่งใจ (Contemplation stage) ตระหนักรู้ว่ามีปัญหาแต่ยังไม่คิดที่จะปรับเปลี่ยน
5.ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance) สามารถคงไว้ซึ่งพฤติกรรมใหม่อย่างสม่ำเสมอ
1.ขั้นที่ก่อนชั่งใจ (Pre-contemplation stage) ไม่มีความสนใจที่จะปรับเปลี่ยนไม่ตระหนักรู้
6.ขั้นยุติพฤติกรรมเดิมอย่างถาวร (Termination) ไม่มีอะไรมาเย้ายวนให้กลับไปทําพฤติกรรมเดิมได้
แบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพ(HealthPromotion Model : HPM)
มโนทัศน์หลักของแบบจําลอง
ความคิดและอารมณ์ต่อพฤติกรรม
การรับรู้ความสามารถของตนเอง
ความรู้สึกที่มีต่อพฤติกรรม
การรับรู้อุปสรรคในการปฏิบัติพฤติกรรม
อิทธิพลระหว่างบุคคล
การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรม
อิทธิพลจากสถานการณ์
พฤติกรรมผลลัพธ์
ความจำเป็นอื่นและทางเลือกอื่นที่เกิดขึ้น
พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
ความมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติพฤติกรรม
1.ลักษณะเฉพาะและประสบการณ์ของบคุคล
พฤติกรรมที่เกี่ยวข้อง
ปัจจัยส่วนบุคคล
การสร้างเสริมพลังอำนาจ
(Empowerment)
ขั้นตอนของการสร้างเสริมพลังอำนาจ
critical reflection 2. critical reflection
Taking charge
discovering reality
holding
ลักษณะของการสร้างเสริมพลังอำนาจ
1.การสร้างเสริมพลังอำนาจระดับบุคคลและระดับกลุ่ม
การสร้มงเสริมพลังอำนาจภายในและภายนอก
A6480110นางสาวภัทรศยา สำเภา