Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 9 แนวคิด ทฤษฎี หลักการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศกับการบริหารการ…
หน่วยที่ 9 แนวคิด ทฤษฎี หลักการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศกับการบริหารการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดหลักการ และกระบวนทัศน์ของการสื่อสารเพื่อการพัฒนา
หลักการ
สื่อเป็นเครื่องมือในการพัฒนา
2.ต้องดำเนินการบนพื้นฐานกระบวนทัศน์การพัฒนา
3.ต้องมีเสรีภาพในการนำเสนอ
4.ผู้ส่งสารต้องมีความรับผิดชอบต่อสาร
พัฒนาการของแนวความคิดด้านการสื่อสารเพื่อการพัฒนา
1.ยุคกระบวนทัศน์สู่ความทันสมัย
2.ยุคกระบวนทัศน์ด้านการพึ่งพา
3.ยุคกระบวนทัศน์ทางเลือก
4.ยุคหลังปีค.ศ.2000
บทบาทในด้านบริหาร
ช่วยให้ทราบความต้องการประชาชน
2.ช่วยกำหนดรูปแบบการสื่อสาร
3.ลดความกดดันในการทำงานฝ่ายบริหาร
4.เป็นกรอบในการดำเนินการมีส่วนร่วม
5.มีส่วนช่วยในการกำกับ ติดตาม และประเมินผล
6.ช่วยสร้างภาพลักษณ์องค์กร
บทบาทในด้านการพัฒนา
1.เป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
2.ช่วยให้วิเคราะห์และหาทางออกด้วยตนเอง
3.ส่งเสริมความเป็นอิสระและเกียรติภูมิของวัฒนธรรมชุมชน
4.เป็นเครื่องมือในการวินิจฉัยชุมชน
5.เป็นช่องทางในการรักษาสิทธิต่างๆ
6.การพัฒนาต้องการกระบวนการสื่อสารมาใช้ในการบริหารจัดการวางแผน
ทฤษฎีการสื่อสารเพื่อการพัฒนา
ทฤษฎีย่อย
ทฤษฎีภาพสะท้อนในสือ
ทฤษฎีบทบาทหน้าที่เชิงสังคมของสื่อ
ทฤษฎีการใช้ประโยชน์และพึงพอใจจากสื่อ
คุณลักษณะของการสื่อสารแบบมีส่วนร่วม
1.การปรับเปลี่ยนแบบจำลองจากการสื่อสารเชิงการถ่ายทอดข่าวสารสู่การสื่อสารเชิงพิธีกรรม
2.การปรับเปลียนเป้าหมายของการสื่อสาร
3.ผู้ส่งสาร ผู้รับสาร
4.การสื่อสารแบบมีส่วนร่วมจะปรับเปลี่ยนรูปแบบการสื่อสาร
7.เนื้อหาสาระ
8.ประเภทของสื่อ
9.ผลที่เกิดขึ้น
ทฤษฎี
ทฤษฎีผลกระทบของสื่อเป็นทฤษฎีที่เป็นกระแสหลักในยุคสื่อมวลชนแบบเดิมและรองรับอยู่เบื้องหลังแนวคิดและแนวทางปฏิบัติของงานส่งเสริมมากที่สุด โดยเฉพาะในยุคทศวรรษแรกของการพัฒนา
ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม เกิดขึ้นราวปี 1970
ทฤษฎีเทีโนโลยีสื่อสารเป็นผู้กำหนด
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกับการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ประเภทของการสื่อสารแบ่งตามการใช้งาน
1.เทคโนโลยีสารสนเทศด้านการสื่อสาร
2.เทคโนโลยีสารสนเทศด้านการประมวลผลและการจัดการข้อมูล
3.เทคโนโลยีสารสนเทศด้านการประมวลผล
ประเภทการสื่อสารแบ่งตามลักษณะ
1.เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารประเภทเสียง
2.เทคโนโลยีสารสนเทศประเภทสิ่งพิมพ์และภาพ
3.เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารด้านเสียงและภาพ
องค์ประกอบของเทคโนโลยี
1.องค์ประกอบทางด้านฮาร์ดแวร์
2.องค์ประกอบทางด้านซอฟแวร์
3.องค์ประกอบด้านข้อมูลสารสนเทศ
บทบาท
บทบาทด้านสารสนเทศและการจัดเก็บข้อมูล
บทบาทด้านการให้ความรู้และการฝึกอบรม
บทบาทด้านการค้าและการบริหาร
บทบาทด้านกลุ่มและเครือข่าย
ความสำคัญ
การศึกษา : ช่วยกระจายอำนาจทางการศึกษาอย่างเท่าเทียม
เศรษฐกิจ: ช่วยติดต่อประสานและให้ข้อมูลทางเศรษฐกิจเป็นไปอย่างรวดเร็วและเชื่อมโยงระบบเศรษฐกิจโลกให้มีความสอดคล้องเป็นปึกแผ่น
สังคม : ทำให้เกิดการปฏิสัมพันธ์ของบุคคลแม้อยู่ในที่ห่างไกล
การเมือง : เป็นช่องทางข่าวสาร ชักจูงใจ ให้ความรู้และการมีส่วนร่วมในภาคการเมืองแก่ประชาชน
การสาธารณสุข : ทำให้การวินิจฉัยโรคและการระบาดทำได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
การเกษตร : ช่วยให้เกษตรกรเข้าถึงข้อมูลที่สำคัญ