Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มารดาอายุ 27 ปี G1P0 GA33+1 DX.GDM A2 - Coggle Diagram
มารดาอายุ 27 ปี G1P0 GA33+1 DX.GDM A2
สตรีสตรีตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติของการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรตเนื่ เนื่องจากไม่มีความสมดุลระหว่างการสร้างอินสุลิน จึงทำให้ระดับน้ำตาลสูงกว่าปกติ
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
Gestational DM
จากเคสกรณีศึกษาตรวจพบโรคเบาหวานหวานขณะตั้งครรภ์
Pregestational DM
การตรวจวินิจฉัย
จากการซักประวัติ
จากการตรวจร่างกาย
น้ำหนัก 72 กก.
สูง 150 ซม.
BMI 32.4 แปลผลว่าอ้วน
จากการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
จากเคสกรณีศึกษาได้รับการตรวจ OGTT 100 g 90 165 190 185 จึงได้รับการวินิจฉัยเป็น GDM A2
การรักษาที่ได้รับ
RI 0-4-4-0
Fe 1*1 POPC
CaCO3 1*1 POPC
ผลต่อมารดา
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะ ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์เพิ่มขึ้น 4 เท่า
ครรภ์แฝดน้ำ มีอุบัติการณ์เพิ่มขึ้นมากกว่าปกติ10เท่า
เสี่ยงต่อการติดมากขึ้น
เสี่ยงต่อได้รับอันตรายจาก ภาวะ hypo-hyperglycemia
การแท้งมักพบในรายที่เป็นเบาหวาน Type 1
Preteam
คลอดตอดไหลและตกเลือดหลังคลอด
ผลต่อทารก
การแท้งบุตร มักพบในรายที่มีการเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือดในอุ้งเชิงกราน ทารกขาดเลือดไปเลี้ยงเกิดแท้งได
พิการแต่กำเนิด
ทารกตัวโต
ทารกตัวเล็กกว่าอายุครรภ์ ทารกเจริญเติบโตช้า
ทารกเสียชีวิตภายในครรภ์ เพิ่มขึ้นในช่วงอายุครรภ์ 4-8 สัปดาห์
หลักการดูแลที่สำคัญ ควบคุมระดับน้ำตาลให้ได้ดีตลอดการตั้งครรภ์ คือ อยู่ระหว่าง 80-120 mg/dl ตรวจประเมินและติดตามสภาพทารกภายในครรภ์ ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
คำแนะนำ
ควบคุมอาหาร โดยควบคุมอาหารให้ได้รับพลังงาน 30-35 Kcal/kk/day เฉลี่ย 1,800 - 2,000 Kcal
การออกกำลังกายจะช่วยลดภาวะดื้ออินสุลิน เช่น การเดิน การทำบริหาร การทำงานบ้าน โดยใช้เวลา 20-30นาทีควรออกกำลังกายในช่วงหลังรับประทานอาหารเพื่อป้องกัน hypoglycemia
การใช้ยาควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ควรใบ้อินสุลินตามแผนการรักษา
ควรพบมาพบแพทย์ตามนัดเพื่อติดตามและประเมินภาวะแทรกซ้อน
โดยในแต่ละวันควรได้รับ คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน เป็นอัตรา 50:30:20โดยแบ่งออกเป็น วันละ 7 มื้อ คือ 3 มื้อหลัก อาหารว่าง3 มื้อ และ ก่อนนอน 1 มื้อเพื่อป้องกันภาวะ hypoglycemia ระหว่างมื้ออาหารและก่อนนอน
หลีกเลี่ยงคาเฟอีน อาหารมัน รสจัด และแนะนำดื่มน้ำช่วงพักระหว่างมื้อมากกว่าดื่มในช่วงมื้ออาหาร